ระเด่นลันได
จาก ตู้หนังสือเรือนไทย
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย '== ข้อมูลเบื้องต้น == {{เรียงลำดับ|ระดเนลันดไ}} [[หมวดหม…') |
ล (รูปแบบการแสดง) |
||
(การแก้ไข 4 รุ่นระหว่างรุ่นที่เปรียบเทียบไม่แสดงผล) | |||
แถว 7: | แถว 7: | ||
== บทประพันธ์ == | == บทประพันธ์ == | ||
===อธิบายบทละคอน เรื่อง ระเด่นลันได=== | ===อธิบายบทละคอน เรื่อง ระเด่นลันได=== | ||
- | + | บทละคอนเรื่องระเด่นลันได ถ้าอ่านโดยไม่ทราบเค้ามูล ก็คงจะเข้าใจว่าเป็นบทแต่งสำหรับเล่นละคอนตลก แต่ความจริงไม่เป็นเช่นนั้น หนังสือเรื่องระเด่นลันไดนี้ที่แท้เป็นจดหมายเหตุ หากผู้แต่งประสงค์จะจดให้ขบขันสมกับเรื่องที่จริง จึงแกล้งแต่งเป็นละคอนสำหรับอ่านกันเล่น หาได้ตั้งใจจะให้ใช้เป็นบทเล่นละคอนไม่ | |
- | + | เรื่องระเด่นลันได เป็นหนังสือแต่งในรัชกาลที่ ๓ เล่ากันมาว่า ครั้งนั้น มีแขกคนหนึ่งชื่อ ลันได ทำนองจะเป็นพวกฮินดู ชาวอินเดีย ซัดเซพเนจรเข้ามาอาศัยอยู่ที่ใกล้โบสถ์พราหมณ์ในกรุงเทพฯ เที่ยวสีซอขอทานเขาเลี้ยงชีพเป็นนิจ พูดภาษาไทยก็มิใคร่ได้ หัดร้องเพลงขอทานได้เพียงว่า "สุวรรณหงษ์ถูกหอกอย่าบอกใคร บอกใครก็บอกใคร" ร้องทวนอยู่แต่เท่านี้ แขกลันไดเที่ยวขอทาน จนคนรู้จักกันโดยมากในครั้งนั้น มีแขกอีกคน ๑ เรียกกันว่า แขกประดู่ ทำนองก็จะเป็นชาวอินเดียเหมือนกัน ตั้งคอกเลี้ยงวัวนมอยู่ที่หัวป้อม (อยู่ราวที่สนามหน้าศาลสถิตยุติธรรมทุกวันนี้) มีภรรยาเป็นหญิงแขกมลายูซื่อประแดะ อยู่มาแขกลันไดกับแขกประดู่เกิดวิวาทกันด้วยเรื่องแย่งหญิงมลายูนั้น โดยทำนองที่กล่าวในเรื่องละคอน คนทั้งหลายเห็นเป็นเรื่องขบขันก็โจษกันแพร่หลาย พระมหามนตรี (ทรัพย์) ทราบเรื่อง จึงคิดแต่งเป็นบทละคอนขึ้น | |
- | พระมหามนตรี(ทรัพย์)นี้ | + | |
+ | พระมหามนตรี(ทรัพย์)นี้ เป็นกวีที่สามารถในกระบวนแต่งกลอนแปด จะหาตัวเปรียบได้โดยยาก แต่มามีชื่อโด่งดังในการแต่งกลอนต่อเมื่อถึงแก่กรรมแล้ว เพราะเมื่อมีชีวิตอยู่ ไม่ใคร่พอใจแต่งโดยเปิดเผย หนังสือซึ่งพระมหามนตรี(ทรัพย์) ได้ออกหน้าแต่งมีปรากฏแต่โคลงฤาษีดัดตนบท ๑ กับเพลงยาวกลบทชื่อ กบเต้นสามตอน (ซึ่งขึ้นต้นว่า "แจ็บคำจำคิดจิตขวย") บท ๑ เท่านั้น ที่พระมหามนตรี (ทรัพย์) มีชื่อเสียงสืบต่อมา จนรัชกาลหลัง ๆ เพราะแต่งหนังสืออีก ๒ เรื่อง คือ เพลงยาว แต่งว่า พระยามหาเทพ(ทองปาน) เมื่อยังเป็น จมื่นราชามาตย์เรื่อง ๑ กับบทละคอนเรื่อง ระเด่นลันไดนี้เรื่อง ๑ | ||
เพลงยาวว่าพระยามหาเทพ(ทองปาน) นั้น เล่ากันมาว่า เป็นแต่ลอบแต่ง แล้วเขียนมาปิดไว้ที่ ทิมดาบตำรวจ ในพระบรมมหาราชวัง ผู้อื่นเห็นก็รู้ว่า เป็นฝีปากพระมหามนตรี(ทรัพย์) แต่ไม่มีผู้ใดฟ้องร้องกล่าว มีแต่ผู้ลอกคัดเอาไป (แล้วเห็นจะเลยฉีกทั้งต้นหนังสือเสีย จึงไม่เกิดความฐานทอดบัตรสนเท่ห์) ด้วยครั้งนั้น มีคนชัง พระยามหาเทพ (ทองปาน) อยู่มากด้วยกัน เพลงยาวนั้น ก็เลยแพร่หลาย หอพระสมุดฯ ได้พิมพ์เพลงยาวนั้น ไว้ในหนังสือวชิรญาณวิเศษเล่ม ๓ ประจำปีกุน จุลศักราช ๑๒๔๙ (พ.ศ.๒๔๓๐) | เพลงยาวว่าพระยามหาเทพ(ทองปาน) นั้น เล่ากันมาว่า เป็นแต่ลอบแต่ง แล้วเขียนมาปิดไว้ที่ ทิมดาบตำรวจ ในพระบรมมหาราชวัง ผู้อื่นเห็นก็รู้ว่า เป็นฝีปากพระมหามนตรี(ทรัพย์) แต่ไม่มีผู้ใดฟ้องร้องกล่าว มีแต่ผู้ลอกคัดเอาไป (แล้วเห็นจะเลยฉีกทั้งต้นหนังสือเสีย จึงไม่เกิดความฐานทอดบัตรสนเท่ห์) ด้วยครั้งนั้น มีคนชัง พระยามหาเทพ (ทองปาน) อยู่มากด้วยกัน เพลงยาวนั้น ก็เลยแพร่หลาย หอพระสมุดฯ ได้พิมพ์เพลงยาวนั้น ไว้ในหนังสือวชิรญาณวิเศษเล่ม ๓ ประจำปีกุน จุลศักราช ๑๒๔๙ (พ.ศ.๒๔๓๐) | ||
- | ส่วนบทละคอนเรื่องละเด่นลันได เหตุที่แต่งเป็นดังอธิบายมาข้างต้น ถ้าผู้อ่านสังเกตจะเห็นได้ว่า ทางสำนวน แต่งดีทั้งกระบวนบทสุภาพ | + | ส่วนบทละคอนเรื่องละเด่นลันได เหตุที่แต่งเป็นดังอธิบายมาข้างต้น ถ้าผู้อ่านสังเกตจะเห็นได้ว่า ทางสำนวน แต่งดีทั้งกระบวนบทสุภาพ และวิธีที่เอาถ้อยคำขบขันเข้าสอดแซม บางแห่งกล้าใช้สำนวนต่ำช้าลงไปให้สมกับตัวบท แต่อ่านก็ไม่มีที่จะเขินเคอะในแห่งใด เพราะฉะนั้น จึงเป็นหนังสือซึ่งชอบอ่านกันแพร่หลายตั้งแต่แรกแต่งตลอดมาจนในรัชกาลหลัง ๆ นับถือกันว่าเป็นหนังสือกลอนชั้นเอกเรื่อง ๑ |
- | บทละคอนเรื่องระเด่นลันไดนี้ มีผู้ใดเคยพิมพ์มาแล้ว | + | บทละคอนเรื่องระเด่นลันไดนี้ มีผู้ใดเคยพิมพ์มาแล้ว แต่ฉบับที่พิมพ์มาแต่ก่อนวิปลาสคลาดเคลื่อน แลมีผู้อื่นแต่งแทรกแซมเพิ่มเติมอีกเป็นอันมาก จนวิปริตผิดรูปฉบับเดิม กรรมการหอพระสมุดฯ เห็นว่าบทละคอนเรื่องละเด่นลันไดนับว่าเป็นเรื่องสำคัญในหนังสือกลอนไทยเรื่อง ๑ ซึ่งสมควรจะรักษาไว้ให้บริสุทธิ์ จึงได้พยายามหาฉบับมาแต่ที่ต่าง ๆ สำหรับชำระแล้วพิมพ์ไว้ในสมุดเล่มนี้ |
- | + | แต่เสียดายอยู่ที่บทตอนท้ายในเล่มนี้ยังขาดฉบับเดิมอยู่สักสามฤาสี่หน้ากระดาษ เนื้อเรื่องที่ขาดเพียงใดจะอธิบายไว้ท้ายเล่มสมุด เผื่อท่านผู้ใดมีฉบับบริบูรณ์ ถ้ามีแก่ใจคัดส่งมายังหอพระสมุดฯ ฤาให้ยืมต้นฉบับมาให้หอพระสมุดฯ ดัดได้ จะขอบพระคุณเป็นอันมาก | |
ดำรงราชานุภาพ | ดำรงราชานุภาพ | ||
สภานายก | สภานายก | ||
+ | |||
หอพระสมุดวชิรญาณ | หอพระสมุดวชิรญาณ | ||
+ | |||
วันที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ.๒๔๖๓ | วันที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ.๒๔๖๓ | ||
แถว 29: | แถว 32: | ||
<tpoem> | <tpoem> | ||
- | ๏ | + | <sup>(ช้าปี่)</sup> |
+ | ๏ มาจะกล่าวบทไป ถึงระเด่นลันไดอนาถา | ||
+ | เสวยราชย์องค์เดียวเที่ยวรำภา ตามตลาดเสาชิงช้าหน้าโบสถ์พราหมณ์ | ||
+ | อยู่ปราสาทเสาคอดยอดด้วน กำแพงแก้วแล้วล้วนด้วยเรียวหนาม | ||
+ | มีทหารหอนเห่าเฝ้าโมงยาม คอยปราบปรามประจามิตรที่คิดร้าย ฯ ๔ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เที่ยวสีซอขอข้าวสารทุกบ้านช่อง เป็นเสบียงเลี้ยงท้องของถวาย | ||
+ | ไม่มีใครชังชิงทั้งหญิงชาย ต่างฝากกายฝากตัวกลัวบารมี | ||
+ | พอโพล้เพล้เวลาจะสายัณห์ ยุงชุมสุมควันแล้วเข้าที่ | ||
+ | บรรทมทมเหนือลำแพนแท่นมณี ภูมีซบเซาเมากัญชา ฯ ๔ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | <sup>(ร่าย)</sup> | ||
+ | ๏ ครั้นรุ่งแสงสุริยันตะวันโด่ง โก้งโค้งลงในอ่างแล้วล้างหน้า | ||
+ | เสร็จเสวยข้าตังกับหนังปลา ลงสระสรงคงคาในท้องคลอง ฯ ๒ คำ ฯ เสมอ | ||
+ | |||
+ | <sup>(ชมตลาด)</sup> | ||
+ | ๏ กระโดดคำสามทีสีเหื่อไคล แล้วย่างขึ้นบันไดเข้าในห้อง | ||
+ | ทรงสุคนธ์ปนละลายดินสอพอง ชโลมสองแก้มคางอย่างแมวคราว | ||
+ | นุ่งกางเกงเข็มหลงอลงกรณ์ ผ้าทิพย์อาภรณ์พื้นขาว | ||
+ | เจียระบาดเสมียนละว้ามาแต่ลาว ดูราวกับหนังแขกเมื่อแรกมี | ||
+ | สวมประคำดีควายตะพายย่าม หมดจดงดงามกว่าปันหยี | ||
+ | กุมตระบองกันหมาจะราวี ถือซอจรลีมาตามทาง ฯ ๖ คำ ฯ เพลงช้า | ||
+ | |||
+ | <sup>(ร่าย)</sup> | ||
+ | ๏ มาเอยมาถึง เมืองหนึ่งสร้างใหม่ดูใหญ่กว้าง | ||
+ | ปราสาทเสาเล้าหมูอยู่กลาง มีคอกโคอยู่ข้างกำแพงวัง | ||
+ | พระเยื้องย่างเข้าทางทวารา หมู่หมาแห่ห้อมล้อมหน้าหลัง | ||
+ | แกว่งตระบองป้องปัดอยู่เก้กัง พระทรงศักดิ์หยักรั้งคอยราญรอน ฯ ๔ คำ ฯ เชิด | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น นางประแดะหูกลวงดวงสมร | ||
+ | ครั้นรุ่งเช้าท้าวประดู่ภูธร เสด็จจรจากเวียงไปเลี้ยงวัว | ||
+ | โฉมเฉลาเนาในที่ไสยา บรรจงหั่นกัญชาไว้ท่าผัว | ||
+ | แล้วอาบน้ำทาแป้งแต่งตัว หวีหัวหาเหาเกล้าผมมวย | ||
+ | ได้ยินแว่วสำเนียงเสียงหมาเห่า คิดว่าวัวเข้าในสวนกล้วย | ||
+ | จึงออกมาเผยแกลอยู่แร่รวย ตวาดด้วยสุรเสียงสำเนียงนาง | ||
+ | พอเหลือบเห็นระเด่นลันได อรไทผินผันหันข้าง | ||
+ | ชม้อยชม้ายชายเนตรดูพลาง ชะน้อยฤๅรูปร่างราวกับกลึง | ||
+ | งามกว่าภัสดาสามี ทั้งเมืองตานีไม่มีถึง | ||
+ | เกิดกำหนัดกลัดกลุ้มรุมรึง นางตะลึงแลดูพระภูมี ฯ ๑๐ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น พระสุวรรณลันไดเรืองศรี | ||
+ | เหลียวพบสบเนตรนางตานี ภูมีพิศภักตร์ลักขณา ฯ ๒ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | <sup>(ชมโฉม)</sup> | ||
+ | ๏ สูงระหงทรงเพียวเรียวรูด งามละม้ายคลายอูฐกะหลาป๋า | ||
+ | พิศแต่หัวตลอดเท้าขาวแต่ตา ทั้งสองแก้มกัลยาดังลูกยอ | ||
+ | คิ้วก่งเหมือนกงเขาดีดฝ้าย จมูกละม้ายคล้านพร้าขอ | ||
+ | หูกลวงดวงพักตร์หักงอ ลำคอโตตันสั้นกลม | ||
+ | สองเต้าห้อยตุงดังถุงตะเคียว โคนเหี่ยวแห้งรวบเหมือนบวบต้ม | ||
+ | เสวยสลายาจุกพระโอษฐ์อม มันน่าเชยน่าชมนางเทวี ฯ ๖ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | <sup>(ร่าย)</sup> | ||
+ | ๏ นี่จะเป็นลูกสาวท้าวพระยา ฤาว่าเป็นพระมเหสี | ||
+ | อกใจทึกทักรักเต็มที ก็ทรงสีซอสุวรรณขึ้นทันใด ฯ ๒ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | <sup>(พัดชา)</sup> | ||
+ | ๏ ยักย้ายร่ายร้องเป็นลำนำ มีอยู่สองคำจำไว้ได้ | ||
+ | สุวรรณหงษ์ถูกหอกอย่าบอกใคร ถูกแล้วกลับไปได้เท่านั้น ฯ ๒ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | <sup>(ร่าย)</sup> | ||
+ | ๏ แล้วซ้ำสีอิกกระดิกนิ้ว ทำยักคิ้วแลบลิ้นเล่นขบขัน | ||
+ | เห็นโฉมยงหัวร่ออยู่งองัน พระทรงธรรม์ทำหนักชักเฉื่อยไป ฯ ๒ คำ ฯ มโหรี | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น นางประแดะตานีศรีใส | ||
+ | สดับเสียงสีซอพอฤทัย ให้วาบวับจับใจผูกพัน | ||
+ | ยิ่งคิดพิศวงพระทรงศักดิ์ ลืมรักท้าวประดู่ผู้ผัวขวัญ | ||
+ | ทำไฉนจะได้พระทรงธรรม์ มาเคียงพักตร์สักวันด้วยรักแรง | ||
+ | คิดพลางทางเข้าไปในห้อง แล้วตักเอาเข้ากล้องมาสองแล่ง | ||
+ | ค่อยประจงลงใส่กระบะแดง กับปลาสลิดแห้งห้าหกตัว | ||
+ | แล้งลงจากบรรไดมิได้ช้า เข้ามานอบนบจบเหนือหัว | ||
+ | เอาปลาใส่ย่ามด้วยความกลัว แล้วยอบตัวลงบังคมก้มพักตรา ฯ ๘ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น ลันไดให้แสนเสน่หา | ||
+ | อะรามรักยักคิ้วหลิ่วตา พูดจาลดเลี้ยวเกี้ยวพาน ฯ ๒ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | <sup>(โอ้โลม)</sup> | ||
+ | ๏ งามเอยงามปลอด ชีวิตพี่นี้รอดด้วยข้าวสาร | ||
+ | เป็นกุศลดลใจเจ้าให้ทาน เยาวมาลย์แม่มีพระคุณนัก | ||
+ | พี่ขอถามนามท้าวเจ้ากรุงไกร ชื่อเรียงเสียงไรไม่รู้จัก | ||
+ | เจ้าเป็นพระมเหสีที่รัก ฤานงลักษณ์เป็นราชธิดา | ||
+ | รูปร่างอย่างว่ากะลาสี พี่ให้มีใจรักเจ้าหนักหนา | ||
+ | ว่าพลางเข้าใกล้กัลยา พระราชาฉวยฉุดยุดมือไว้ ฯ ๖ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | <sup>(ร่าย)</sup> | ||
+ | ๏ ทรงเอยทรงกระสอบ ทำเล่นเห็นชอบฤาไฉน | ||
+ | ไม่รู้จักมักจี่นี่อะไร มาเลี้ยวไล่ฉวยฉุดยุดข้อมือ | ||
+ | ยิ่งว่าก็ไม่วางทำอย่างนี้ พระจะมีเงินช่วยข้าด้วยฤๅ | ||
+ | อวดว่ากล้าแข็งเข้าแย่งยื้อ ลวนลามถามชื่อน้องทำไม | ||
+ | น้องมิใช่ตัวเปล่าเล่าเปลือย หยาบเหมือนขี้เลื่อยเมื่อยหัวไหล่ | ||
+ | ลูกเขาเมียเขาไม่เข้าใจ บาปกรรมอย่างไรก็ไม่รู้ ฯ ๖ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | <sup>(ชาตรี)</sup> | ||
+ | ๏ ดวงเอยดวงไต้ สบถได้เจ็ดวัดทัดสองหู | ||
+ | ความจริงพี่มิเล่นเป็นเช่นชู้ จะร่วมเรียงเคียงคู่กันโดยดี | ||
+ | ถึงมิใช่ตัวเปล่าเจ้ามีผัว พี่ไม่กลัวบาปดอกนะโฉมศรี | ||
+ | อันนรกตกใจไปไยมี ยมพระบาลกับพี่เป็นเกลอกัน | ||
+ | เพียงจับมือถือแขนอย่าแค้นเคือง จะให้น้องสองเฟื้องอย่าหุนหัน | ||
+ | แล้วแก้เงินในไถ้ออกให้พลัน นี่แลขันหมากหมั้นกัลยา | ||
+ | พอดึกดึกสักหน่อยนะน้องแก้ว พี่จะลอดล่องแมวขึ้นไปหา | ||
+ | โฉมเฉลาเจ้าจงได้เมตตา เปิดประตูไว้ท่าอย่าหลับนอน ฯ ๘ คำฯ | ||
+ | |||
+ | (ร่าย) | ||
+ | ๏ ทรงเอยทรงกระโถน | ||
+ | อย่ามาพักปลอบโยนให้โอนอ่อน | ||
+ | ไม่อยากได้เงินทองของภูธร | ||
+ | นางเคืองค้อนคืนให้ไม่อินัง | ||
+ | ช่างอวดอ้างว่านรกไม่ตกใจ | ||
+ | คนอะไรอย่างนี้ก็มีมั่ง | ||
+ | เชิญเสด็จรีบออกไปนอกวัง | ||
+ | อย่ามานั่งวิงวอนทำค่อนแคะ | ||
+ | เพียงแต่รู้จักกันกระนั้นพลาง | ||
+ | พอเป็นทางไมตรีกระนี้แหละ | ||
+ | เมื่อพระอดข้าวปลาจึงมาแวะ | ||
+ | น้องฤๅชื่อประแดะดวงใจ | ||
+ | ท่านท้าวประดู่ผู้เป็นผัว | ||
+ | ยังไปเลี้ยงวัวหากลับไม่ | ||
+ | แม้นยังช้าชีวันจะบรรลัย | ||
+ | เร่งไปเสียเถิดพระราชา ฯ ๘ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | ลันไดยิ้มเยาะหัวเราะร่า | ||
+ | เราไม่เกรงกลัวอิทธิฤทธา | ||
+ | ท้าวประดู่จะมาทำไมใคร | ||
+ | พี่ก็ทรงศักดากล้าหาญ | ||
+ | แต่ข้าวสารเต็มกระบุงยังแบกไหว | ||
+ | ปลาแห้งพี่เอาเข้าเผาไฟ | ||
+ | ประเดี๋ยวใจเคี้ยวเล่นออกเป็นจุณ ฯ ๔ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | นางประแดะเห็นความจะวามวุ่น | ||
+ | จึงนบนอบยอบตัวทำกลัวบุญ | ||
+ | ไม่รู้เลยพ่อคุณนี้มีฤทธิ์ | ||
+ | กระนั้นซิเมื่อพระเสด็จมา | ||
+ | หมูหมาย่นย่อไม่รอติด | ||
+ | ขอพระองค์จงฟังยั้งหยุดคิด | ||
+ | อย่าให้มีความผิดติดตัวน้อง | ||
+ | ท้าวประดู่ภูธรเธอขี้หึง | ||
+ | ถ้ารึ้งท้าวเธอจะทุบถอง | ||
+ | จงไปเสียก่อนเถิดพ่อรูปทอง | ||
+ | อย่าให้น้องชั่วช้าเป็นราคี | ||
+ | ว่าพลางทางสลัดปัดกร | ||
+ | ควักค้อนยักหน้าตาหยิบหยี | ||
+ | นาดกรอ่อนคอจรลี | ||
+ | เดินหนีมิให้มาใกล้กราย ฯ ๘ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | ลันไดไม่สมอารมณ์หมาย | ||
+ | เห็นนางหน่ายหนีลี้กาย | ||
+ | โฉมฉายสลัดพลัดมือไป | ||
+ | มันให้ขัดสนยืนบ่นออด | ||
+ | เจ้ามาทอดทิ้งพี่หนีไปได้ | ||
+ | ตัวกูจะอยู่ไปทำไม | ||
+ | ก็ยกย่ามขึ้นไหล่ไปทั้งรัก ฯ ๔ คำ ฯ เชิด | ||
+ | |||
+ | (ช้า) | ||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | ท้าวประดู่สุริย์วงศ์ทรงกระฏัก | ||
+ | เที่ยวเลี้ยงวัวล้าเลื่อยเหนื่อยนัก | ||
+ | เข้าหยุดยั้งนั่งพักในศาลา | ||
+ | วันเมื่อมเหสีจะมีเหตุ | ||
+ | ให้กระตุกในเนตรทั้งซ้ายขวา | ||
+ | ตุ๊กแกตกลงตรงพักตรา | ||
+ | คลานไปคลานมาก็สิ้นใจ | ||
+ | แม่โคขึ้นสัดผลัดโคตัวผู้ | ||
+ | พิเคราะห์ดูหลากจิตคิดสงสัย | ||
+ | จะมีเหตุแม่นมั่นพรั่นพระทัย | ||
+ | ก็เลี้ยวไล่โคกลับเข้าพารา ฯ ๖ คำ ฯ เชิด | ||
+ | |||
+ | (ร่าย) | ||
+ | ๏ ครั้นถึงขอบรั้วริมหัวป้อม | ||
+ | พระวิ่งอ้อมเลี้ยวลัดสกัดหน้า | ||
+ | ไล่เข้าคอกพลันมิทันช้า | ||
+ | เอาขี้หญ้าสุมควันกันริ้นยุง | ||
+ | ยืนลูบเนื้อตัวที่หัวบันได | ||
+ | แล้วเข้าในปรางค์รัตน์ผลัดผ้านุ่ง | ||
+ | ยุรยาตรเยื้องย่างมาข้างมุ้ง | ||
+ | เห็นกระบุงข้าวกล้องนั้นพร่องไป | ||
+ | ปลาสลิดในกระบายก็หายหมด | ||
+ | พระทรงยศแสนเสียดายน้ำลายไหล | ||
+ | กำลังหิวข้าเศร้าเสียใจ | ||
+ | ก็เอนองค์ลงในที่ไสยา | ||
+ | กวักพระหัตถ์ตรัสเรียกมเหสี | ||
+ | เข้ามานี่พุ่มพวงดวงยี่หวา | ||
+ | วันนี้มีใครไปมา | ||
+ | ยังพาราเราบ้างฤๅอย่างไร ฯ ๘ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | นางประแดะฟังความที่ถามไถ่ | ||
+ | กราบทูลเยื้องยักกระอักกระไอ | ||
+ | ร้อนตัวกลัวภัยพระภูมี | ||
+ | ตั้งแต่พระเสด็จไปเลี้ยงวัว | ||
+ | น้องก็นอนซ่อนตัวอยู่ในที่ | ||
+ | ไม่เห็นใครไปมายังธานี | ||
+ | จงกราบใต้เกศีพระราชา ฯ ๔ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | ท้าวประดู่ได้ฟังให้กังขา | ||
+ | จึงซักไซ้ไล่เลียงกัลยา | ||
+ | ว่าไม่มีใครมาน่าแคลงใจ | ||
+ | ทั้งข้าวทั้งปลาของข้าหาย | ||
+ | เขายักย้ายขายซื้อฤๅไฉน | ||
+ | ฤาลอบลักตักให้แก่ผู้ใด | ||
+ | จงบอกไปนะน้องนางอย่าพรางกัน ฯ ๔ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | นางประแดะตกใจอยู่ไหวหวั่น | ||
+ | ด้วยแรกเริ่มเดิมทูลพระทรงธรรม์ | ||
+ | ว่าใครนั่นมิได้จะไปมา | ||
+ | ครั้นจะไม่ทูลความไปตามจริง | ||
+ | ก็เกรงกริ่งด้วยพิรุธมุสา | ||
+ | สารภาพกราบลงกับบาทา | ||
+ | วอนว่าอย่าโกรธจงโปรดปราน | ||
+ | วันนี้มีหน่อกระษัตรา | ||
+ | เที่ยวมาสีซอขอข้าวสาร | ||
+ | น้องเสียมิได้ก็ให้ทาน | ||
+ | สิ้นคำให้การแล้วผ่านฟ้า ฯ ๖ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | ท้าวประดู่ได้ฟังนึกกังขา | ||
+ | ใครหนอหน่อเนื้อกระษัตรา | ||
+ | เที่ยวมาสีซอขอทาน | ||
+ | เห็นจะเป็นอ้ายระเด่นลันได | ||
+ | ที่ครอบครองกรุงไกรเทวฐาน | ||
+ | มันแสแสร้งแกล้งทำมาขอทาน | ||
+ | จะคิดอ่านตัดเสบียงเอาเวียงชัย | ||
+ | จึงชี้หน้าว่าเหม่มเหสี | ||
+ | มึงนี้เหมือนหนอนที่บ่อนไส้ | ||
+ | ขนเอาปลาข้าวให้เขาไป | ||
+ | วันนี้จะได้อะไรกิน | ||
+ | ถ้ามั่งมีศรีสุขก็ไม่ว่า | ||
+ | นี่สำเภาเลากาก็แตกสิ้น | ||
+ | แล้วมิหนำซ้ำตัวเป็นมลทิน | ||
+ | จะอยู่กินต่อไปให้คลางแคลง | ||
+ | เจ้าศรัทธาอาศัยอย่างไรกัน | ||
+ | ฤๅกระนี้กระนั้นก็ไม่แจ้ง | ||
+ | จะเลี้ยงไว้ไยเล่าเมื่อข้าวแพง | ||
+ | ฉวยชักพระแสงออกแกว่งไกว ฯ ๑๐ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | นางประแดะเลี้ยวลอดกอดเอวได้ | ||
+ | เหมือนเล่นงูกินหางไม่ห่างไกล | ||
+ | นึกประหวั่นพรั่นใจอยู่รัวรัว | ||
+ | โปรดก่อนผ่อนถามเอาความจริง | ||
+ | เมื่อชั่วแล้วแทงทิ้งเถิดทูนหัว | ||
+ | อันพระสามีเป็นที่กลัวฅ | ||
+ | จะทำนอกใจผัวอย่าพึงคิด | ||
+ | พระหึงหวงมิได้ล่วงพระอาญา | ||
+ | ที่ให้ข้าให้ปลานั้นข้าผิด | ||
+ | น้องนี้ทำชั่วเพราะมัวมิด | ||
+ | ทำไมกับชีวิตไม่เอื้อเฟื้อ | ||
+ | น้องมิได้ศรัทธาอาศัย | ||
+ | จะลุยน้ำดำไฟเสียให้เชื่อ | ||
+ | ไม่มีอาลัยแก่เลือดเนื้อ | ||
+ | แต่เงื้อเงื้อไว้เถิดอย่าเพ่อแทง ฯ ๘ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | ท้าวประดู่เดือดนักชักพระแสง | ||
+ | ถ้าบอกจริงให้กูอีหูแหว่ง | ||
+ | จะงดไว้ไม่แทงอย่าแย่งยุด | ||
+ | กูก็เคยเกี้ยวชู้รู้มารยา | ||
+ | มิใช่มึงโสดามหาอุด | ||
+ | มันเป็นถึงเพียงนี้ก็พิรุธ | ||
+ | ถึงดำน้ำร้อยผุดไม่เชื่อใจ | ||
+ | ยังจะท้าพิสูจน์รูดลอง | ||
+ | พ่อจะถองให้ยับจนตับไหล | ||
+ | เห็นว่ากูหลงรักแล้วหนักไป | ||
+ | เออระไรนี่หวาน้ำหน้ามึง | ||
+ | หาเอาใหม่ให้ดีกว่านี้อีก | ||
+ | ผิดก็เสียเงินปลีกสองสลึง | ||
+ | กังลังกริ้วโกรธาหน้าตึง | ||
+ | ถีบผึงถูกตะโพกโขยกไป ฯ ๘ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | (โอ้) | ||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | นางประแดะเจ็บจุกลุกไม่ไหว | ||
+ | ค่อยยืนยันกะเผลกเขยกไป | ||
+ | เข้ายังครัวไปร้องไห้โฮ | ||
+ | ร้องดิ้นเร่าเร่าพ่อเจ้าเอ๋ย | ||
+ | ลูกไม่เคยโกหกพกโมโห | ||
+ | เสียแรงได้เป็นข้ามาแต่โซ | ||
+ | กลับพาโลโกรธาด่าตี | ||
+ | น้องก็ไร้ญาติวงศ์พงศา | ||
+ | หมายพึ่งบาทาพระโฉมศรี | ||
+ | โคตรพ่อโคตรแม่ก็ไม่มี | ||
+ | อยู่ถึงเมืองตานีเขาตีมา | ||
+ | ตะโพกโดกโดยเมียแทบคลาด | ||
+ | ถีบด้วยพระบาทดังชาติข้า | ||
+ | จะอยู่ไปไยเล่าไม่เข้ายา | ||
+ | ตายโหงตายห่าก็ตายไป ฯ ๘ คำ ฯ โอด | ||
+ | |||
+ | (ร่าย) | ||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | ท้าวประดู่ได้ฟังดังเพลิงไหม้ | ||
+ | ดูดู๋อีประแดะค่อนแคะได้ | ||
+ | กลับมาด่าได้อีใจเพชร | ||
+ | เอาแต่คารมเข้าข่มกลบ | ||
+ | กูจะจิกหัวตบเสียให้เข็ด | ||
+ | ชะช่างโศกาน้ำตาเล็ด | ||
+ | กูรู้เช่นเห็นเท็จทุกสิ่งอัน ฯ ๔ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ ว่าพลางทางคว้าได้พร้าโต้ | ||
+ | ดุด่าตาโตเท่ากำปั้น | ||
+ | ผลักประตูครัวไฟเข้าไปพลัน | ||
+ | นางประแดะยืนยันลั่นกลอนไว้ | ||
+ | ผลักมาผลักไปอยู่เป็นครู่ | ||
+ | จะเข้าไปในประตูให้ให้จงได้ | ||
+ | กระทืบฟากโครมครามความแค้นใจ | ||
+ | อึกทึกทั่วไปในพารา ฯ ๔คำ เชิด ฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ บัดนั้น | ||
+ | พวกหัวไม้กระดูกผีขี้ข้า | ||
+ | บ่อนเลิกกินเหล้าเมากลับมา | ||
+ | ได้ยินเสียงเถียงด่ากันอื้ออึง | ||
+ | จึงหยุดนั่งข้างนอกริมคอกวัว | ||
+ | ว่าเมียผัวคู่นี้มันขี้หึง | ||
+ | พอพลบค่ำราตรีตีตะบึง | ||
+ | อึงคะนึงนักหนาน่าขัดใจ | ||
+ | แล้วคว้าก้อนอิฐปาเข้าฝาโผง | ||
+ | ตกถูกโอ่งปาล้อแลหม้อไห | ||
+ | พลางตบมือร้องเย้ยเผยไยไย | ||
+ | แล้ววิ่งไปทางตะพานบ้านตะนาว ฯ ๖ คำ ฯ รัว | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | ท้าวประดู่ตาพองร้องบอกกล่าว | ||
+ | หยิบงอบครอบหัวตัวสั่นท้าว | ||
+ | อ้ายพ่อจ้าวชาวบ้านวานช่วยกัน | ||
+ | วัวน้ำวัวหลวงกูได้เลี้ยง | ||
+ | อิฐมาเปรี้ยงเปรี้ยงเสียงสนั่น | ||
+ | สาเหตุมีมาแต่กลางวัน | ||
+ | คงได้เล่นเห็นกันอ้ายลันได | ||
+ | ทั้งนี้เพราะอีมะเหเสือ | ||
+ | จะกินเลือดกินเนื้อกูให้ได้ | ||
+ | ขว้างวังครั้งนี้ไม่มีใคร | ||
+ | ชู้มึงฤๅมิใช่อีมารยา | ||
+ | พระฉวยได้ไม้ยุงปัดกวัดแกว่ง | ||
+ | สำคัญว่าพระแสงขึ้นเงื้อง่า | ||
+ | เลี้ยวไล่ฟาดฟันกัลยา | ||
+ | วิ่งมาวิ่งไปอยู่ในครัว ฯ ๘ คำฯ | ||
+ | |||
+ | (สับไทย) | ||
+ | ๏ เหม่เหม่ดูดู๋อีประแดะ | ||
+ | ทีนี้แหละเห็นประจักษ์ว่ารักผัว | ||
+ | หากกูรู้ตัว | ||
+ | หัวไม่แตกแตน | ||
+ | ขว้างแล้วหนีไป | ||
+ | มิได้ตอนแทน | ||
+ | ยิ่งคิดยิ่งแค้น | ||
+ | เลี้ยวเล่นไล่ตี ฯ ๔ คำฯ | ||
+ | |||
+ | (รื้อ) | ||
+ | ๏ ทรงเอยทรงกระบอก | ||
+ | น้องไม่เห็นด้วยดอกพระโฉมศรี | ||
+ | ปาวังครั้งนี้ | ||
+ | มิใช่ชู้น้อง | ||
+ | สืบสมดังว่า | ||
+ | สัญญาให้ถอง | ||
+ | วิ่งพลางทางร้อง | ||
+ | ตีน้องทำไม ฯ ๔คำฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เหลือเอยเหลือเถน | ||
+ | ขัดเขมรขบฟันมันไส้ | ||
+ | ปรานีมึงไย | ||
+ | ใครใช้มีชู้ | ||
+ | ไม่เลี้ยงเป็นเมีย | ||
+ | ไปเสียอย่าอยู่ | ||
+ | รั้ววังของกู | ||
+ | ปิดประตูตีแมว ฯ ๔ฯ เชิด | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | นางประแดะเหนื่อยอ่อนลงนอนแซ่ว | ||
+ | ยกมือท่วมหัวลูกกลัวแล้ว | ||
+ | กอดก้นผัวแก้วเข้าคร่ำครวญ ฯ ๒ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | (โอ้) | ||
+ | ๏ โอ้พระยอดตองของน้องเอ๋ย | ||
+ | กระไรเลยช่างสลัดตัดเด็ดด้วน | ||
+ | แม้นชั่วช้าจริงจังก็บังควร | ||
+ | พ่อมาด่วนมุทะละดุดันไป | ||
+ | จงตีแต่พอหลาบปราบพอจำ | ||
+ | จะเฝ้าเวียนเฆี่ยนซ้ำไปถึงไหน | ||
+ | งอโทษโปรดเถิดพระภูวไนย | ||
+ | น้องยังไม่เคยไกลพระบาทา | ||
+ | ถึงไม่เลี้ยงเป็นพระมเหสี | ||
+ | จะขอพึ่งบารมีเป็นขี้ข้า | ||
+ | ไม่ถือว่าเป็นผัวเพราะชั่วข้า | ||
+ | จะก้มหน้าเป็นทาสกวาดขี้วัว | ||
+ | สิบคนเข้าไม่เท่าหนึ่งคนออก | ||
+ | อยู่กับคอกช่วยใช้พ่อทูนหัว | ||
+ | ร่ำพลางทางทุ่มทอดตัว | ||
+ | ตีอกชกหัวแล้วโศกา ฯ ๘ คำ ฯ โอด | ||
+ | |||
+ | (ร่าย) | ||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | ท้าวประดู่ได้ฟังนางร่ำว่า | ||
+ | ให้นึกสมเพชเวทนา | ||
+ | น้ำตาไหลนองสักสองครุ | ||
+ | หวนรำลึกนึกถึงอ้ายลันได | ||
+ | กลับเจ็บใจไม่เหือดเดือดดุ | ||
+ | โมโหมืดหน้าบ้ามุทะลุ | ||
+ | กระดูกผุเมื่อไรก็ไม่ลืม | ||
+ | กูไม่อยากเอาไว้ใช้สอย | ||
+ | นึกว่าปล่อยสิงสัตว์วัดสามปลื้ม | ||
+ | แต่ชั้นทอผ้ายังคาฟืม | ||
+ | ดีแต่ยืมเข้ากินอีสิ้นอาย | ||
+ | แม่เรือนเช่นนี้มิเป็นผล | ||
+ | มันจะลวงล้วงก้นจนฉิบหาย | ||
+ | ไปเสียมึงไปไม่เสียดาย | ||
+ | กูจะเป็นพ่อหม้ายสบายใจ | ||
+ | สาวสาวชาววังก็ยังถม | ||
+ | ไม่ปรารมภ์ปรารี้จะมีใหม่ | ||
+ | เก็บเงินค่านมผสมไว้ | ||
+ | หาไหนหาได้ไม่ทุกข์ร้อย ฯ ๑๐ คำฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | นางประแดะหูกลวงดวงสมร | ||
+ | สุดที่จะพรากจากจร | ||
+ | บังอรข้อนทรวงเข้าร่ำไร ฯ ๒ คำฯ | ||
+ | |||
+ | (โอ้) | ||
+ | ๏ โอ้พ่อใจบุญของเมียเอ๋ย | ||
+ | แปดค่ำพ่อเคยเชือดคอไก่ | ||
+ | ต้มปลาร้าตั้งหม้อกับหน่อไม้ | ||
+ | เมียยังอาลัยได้อยู่กิน | ||
+ | พระเคยรีดนมวัวให้เมียขาย | ||
+ | แม้สายที่ยังไม่หมดสิ้น | ||
+ | เหลือติดก้นกระบอกเอาจอกริน | ||
+ | ให้เมียกินวันละนิดคิดทุกวัน | ||
+ | แต่พอพลบรบเมียเข้ากระท่อม | ||
+ | พ่อนั่งกล่อมจนหลับแล้วรับขวัญ | ||
+ | ในมุ้งยุงชุมพ่อสุมควัน | ||
+ | สารพันทรงศักดิ์จะรักเมีย | ||
+ | จะกินอยู่พูวายสบายใจ | ||
+ | พ่อมอบไว้ให้วันละสิบเบี้ย | ||
+ | อกน้องดังไฟไหม้ลามเลีย | ||
+ | จะทิ้งเมียเสียได้ไม่ไยดี | ||
+ | เที่ยงนางกลางคืนพ่อทูนหัว | ||
+ | จะให้ออกนอกรั้วลูกกลัวผี | ||
+ | ก้นไต้ก้นไฟก็ไม่มี | ||
+ | ผัดรุ่งพรุ่งนี้เถิดพ่อคุณ | ||
+ | ถึงจะไม่ได้อยู่บนตำหนัก | ||
+ | ขอพึ่งพักอาศัยเพียงใต้ถุน | ||
+ | ยกโทษโปรดเถิดพ่อใจบุญ | ||
+ | เสียแรงได้เลี้ยงขุนมีคุณมา ฯ ๑๒ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | (ร่าย) | ||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | ท้าวประดู่ได้ฟังชังน้ำหน้า | ||
+ | น้อยฤๅอีขี้เค้าเจ้าน้ำตา | ||
+ | ยังจะร่ำไรว่ากวนใจกู | ||
+ | เมินเสียเถิดหวาอีหน้ารุ้ง | ||
+ | อย่าพูดอยู่ข้างมุ้งรำคาญหู | ||
+ | ไสหัวมึงออกนอกประตู | ||
+ | ขืนอยู่ช้าไปได้เล่นกัน | ||
+ | ว่าพลางปิดบานทวารโผง | ||
+ | เข้าในห้องท้องพระโรงขมีขมัน | ||
+ | ยกหม้อตุ้งก่าออกมาพลัน | ||
+ | พระทรงศักดิ์ชักควันโขมงไป ฯ ๖ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | นางประแดะทุกข์ร้อนถอนใจใหญ่ | ||
+ | แล้วข่มขืนกลืนกลั้นชลนัยน์ | ||
+ | จะอยู่ไปไยเล่าไม่เข้าการ | ||
+ | แต่ทุบตีมิหนำแล้วซ้ำขับ | ||
+ | ให้อายอับเพื่อนรั้วหัวบ้าน | ||
+ | เช้าค่ำร่ำว่าด่าประจาน | ||
+ | ใครจะทานทนได้ในฝีมือ | ||
+ | กูจะหาผัวใหม่ให้ได้ดี | ||
+ | เอาโยคีกินไฟไม่ได้ฤๅ | ||
+ | ไหนไหนชาวเมืองก็เลื่องฦๅ | ||
+ | อึงอื้ออับอายขายพักตรา | ||
+ | คว้าถุงเบี้ยได้ใส่กระจาด | ||
+ | ฉวยผ้าแพรขาดขึ้นพาดบ่า | ||
+ | ลงจากบันไดไคลคลา | ||
+ | น้ำตาคลอคลอจรลี ฯ ๘ คำฯ ทยอย | ||
+ | |||
+ | (โอ้ร่าย) | ||
+ | ๏ ครั้นมาพ้นคอกวัวรั้วตราง | ||
+ | เหลียวหลังดูปรางค์ปราสาทศรี | ||
+ | เคยได้ค้างกายมาหลายปี | ||
+ | ครั้งนี้ตกยากจะจากไป | ||
+ | หยุดยืนสะอื้นอยู่อืดอืด | ||
+ | เดือนก็มืดเต็มทีไม่มีไต้ | ||
+ | ฝนตกพรำพรำทำอย่างไร | ||
+ | ก็หยุดยืนร้องไห้อยู่ที่ร้าน ฯ๔ คำ ฯ โอด | ||
+ | |||
+ | (ช้า) | ||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | โฉมระเด่นลันไดใจหาญ | ||
+ | ครั้นพลบค่ำเข็นบันไดไว้นอกชาน | ||
+ | ยกเชิงกรานสุมไฟใส่ฟืนตอง | ||
+ | แล้วเอนองค์ลงเหนือเสื่อกระจูด | ||
+ | นอนนิ่งกลิ้งทูดอยู่ในห้อง | ||
+ | เสนาะเสียงสำเนียงพิราบร้อง | ||
+ | ครางกระหึมครึ้มก้องบนกบทู | ||
+ | แว่วแว่วเค้าแมวในกลีบเมฆ | ||
+ | ดูวิเวกลงหลังคาเที่ยวหาหนู | ||
+ | พระเผยบัญชรแลชะแง้ดู | ||
+ | ดาวเดือนรุบรู่ไม่เห็นตัว | ||
+ | พระพายชายพัดอุตพิด | ||
+ | พระทรงฤทธิ์เต็มกลั้นจนสั่นหัว | ||
+ | หอมชื่นดอกอัญชันที่คันรั้ว | ||
+ | ฟุ้งตลบอบทั่วทั้งวังใน ฯ ๘ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | (ร่าย) | ||
+ | ๏ หวนรำลึกนึกถึงนางประแดะ | ||
+ | ที่นัดแนะแต่เย็นเป็นไฉน | ||
+ | ดึกแล้วแก้วตาเห็นช้าไป | ||
+ | จะร้องไห้รำพึงถึงพี่ชาย | ||
+ | จำจะไปให้ทันดังสัญญา | ||
+ | ได้ย่องเบาเข้าหานางโฉมฉาย | ||
+ | จึงอาบน้ำทาแป้งแต่งกาย | ||
+ | สวมประคำดีควายสำหรับตัว | ||
+ | แหงนดูฤกษ์บนฝนพยับ | ||
+ | เดือนดับลับเมฆขมุกขมัว | ||
+ | ลงบันไดเดินออกมานอกรั้ว | ||
+ | โพกหัวกลัวอิฐคิดระอา | ||
+ | หลายครั้งตั้งแต่มันทิ้งกู | ||
+ | พระโฉมตรูเหลือบซ้ายแลขวา | ||
+ | แล้วผาดแผลงสำแดงเดชา | ||
+ | เดินมาตามตรอกซอกกำแพง ฯ ๘ คำ เชิด | ||
+ | |||
+ | ๏ ประเดี๋ยวหนึ่งก็ถึงคอกโคขัง | ||
+ | จะเข้าได้ดอกกระมังยังไม่แจ้ง | ||
+ | เห็นกองไฟใส่สุมอยู่แดงแดง | ||
+ | แอบแฝงฟังอยู่ดูท่าทาง | ||
+ | เห็นทีท้าวประดู่ผู้ผัว | ||
+ | จะนอนเฝ้าวัวอยู่ข้างล่าง | ||
+ | แต่โฉมศรีนิฤมลอยู่ปรางค์ | ||
+ | กูจะขึ้นหานางทางล่องแมว | ||
+ | จึงกลิ้งครกที่ใต้ถุนเข้าหนุนตีน | ||
+ | พระโฉมฉายป่ายปีนอยู่แด่วแด่ว | ||
+ | อกใจไม้ครูดขูดเป็นแนว | ||
+ | จะเห็นรักบ้างแล้วฤๅแก้วตา | ||
+ | พระประหวั่นพรั่นตัวกลัวจะตก | ||
+ | ทำหนูกกเจาะเจาะเคาะข้าฝา | ||
+ | ไฉนไม่คอยกันดังสัญญา | ||
+ | อนิจจานอนได้ไม่คอยรับ ฯ ๘คำฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | ท้าวประดู่สุริย์วงศ์โก้งโค้งหลับ | ||
+ | พอประสาทสะเทือนไหวตกใจวับ | ||
+ | ลุกขยับนิ่งฟังนั่งหลับตา | ||
+ | คิดว่ามเหสีที่ถูกถอง | ||
+ | แสบท้องหายโกรธเข้ามาหา | ||
+ | ให้นึกสมเพชเวทนา | ||
+ | สู้ทนทานด้านหน้ามาง้องอน | ||
+ | จะขับหนีตีไล่ไม่ไปจาก | ||
+ | อีร่วมเรือนเพื่อนยากมาแต่ก่อน | ||
+ | แล้วคลี่ผ้าคลุมหัวล้มตัวนอน | ||
+ | พระภูธรทำเฉยเลยหลับไป ฯ ๖ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | ลันไดล้วงสลักชักกลอนได้ | ||
+ | เปิดประตูเยื้องย่องเข้าห้องใน | ||
+ | เข้านั่งใกล้ในจิตคิดว่านาง | ||
+ | สมพาสยักษ์ลักหลับขึ้นทับบน | ||
+ | ท้าวประดู่เต็มทนอยู่ข้างล่าง | ||
+ | พระสรวมสอดกอดไว้มิได้วาง | ||
+ | ช้อนคางพลางจูบแล้วลูบคลำ ฯ ๔ คำฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | ท้าวประดู่ผุดลุกขึ้นปลุกปล้ำ | ||
+ | ตกใจเต็มทีว่าผีอำ | ||
+ | ต่างคนต่างคลำกันวุ่นไป | ||
+ | เอ๊ะจริตผิดแล้วมิใช่ผี | ||
+ | จะว่าพระมเหสีก็มิใช่ | ||
+ | ขนอกรกนักทักว่าใคร | ||
+ | ตกใจฉวยตระบองร้องว่าคน | ||
+ | ลันไดโดดโผนโดนประตู | ||
+ | ท้าวประดู่ร้องโวยขโมยปล้น | ||
+ | ตะโกนเรียกเสนาสามนต์ | ||
+ | มันไม่มีสักคนก็จนใจ | ||
+ | ระเด่นโดดโลดออกมานอกรั้ว | ||
+ | ผิดตัวแล้วกูอยู่ไม่ได้ | ||
+ | ก็ผาดแผลงสำแดงฤทธิไกร | ||
+ | วิ่งไปตามกำลังไม่รั้งรอ ฯ ๘ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ หมาหมู่กูไล่ไม่มีขวัญ | ||
+ | ปล่อยชันสามขาเหมือนม้าห้อ | ||
+ | เต็มประดาหน้ามืดหืดขึ้นคอ | ||
+ | ต้องหยุดยั้งรั้งรอมาตามทาง | ||
+ | ถึงโดยจะไล่ก็ไม่ทัน | ||
+ | ผิดนักสู้มันแต่ห่างห่าง | ||
+ | พอแว่วสำเนียงเหมือนเสียงคราง | ||
+ | อยู่ในร้านริมข้างหนทางจร | ||
+ | เอ๊ะผีฤๅคนขนลุกซ่า | ||
+ | พระหัตถ์คว้าฉวยอิฐได้สองก้อน | ||
+ | หยักรั้งตั้งท่าจะราญรอน | ||
+ | นี่หลอกหลอนเล่นข้าฤๅว่าไร | ||
+ | ครั้นได้ยินเสียงชัดเป็นสตรี | ||
+ | จะลองฤทธิ์สักทีหาหนีไม่ | ||
+ | กำหมัดเยื้องย่องมองเข้าไป | ||
+ | แก่สาวคราวไหนจะใคร่รู้ ฯ ๘ คำฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | นางประแดะนั่งซุ่มคลุมหัวอยู่ | ||
+ | สาละวนโศกาน้ำตาพรู | ||
+ | เห็นคนย่องมองดูก็ตกใจ | ||
+ | พอฟ้าแลบแปลบช่วงดวงพักตร์ | ||
+ | เห็นระเด่นรู้จักก็จำได้ | ||
+ | ทั้งสองข้างถอยทีดีใจ | ||
+ | ทรามวัยกราบก้มบังคมคัล ฯ ๔ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | ระเด่นเห็นนางพลางรับขวัญ | ||
+ | นั่งลงซักไซ้ไล่เลียงกัน | ||
+ | ไฉนนั่นกัลยามาโศกี | ||
+ | พี่หลงขึ้นไปหานิจจะเอ๋ย | ||
+ | ไม่รู้เลยน้องแก้วแคล้วกับพี่ | ||
+ | พี่ไปพบท้าวประดุ่ผู้สามี | ||
+ | เกิดอึงมี่ตึงตังทั้งพารา | ||
+ | มันจะกลับจับพี่เป็นผู้ร้าย | ||
+ | จะฆ่าเสียให้ตายก็ขายหน้า | ||
+ | เขาจะค่อนติฉินนินทา | ||
+ | อดสูเทวาสุราลัย | ||
+ | จะเอาเมียแล้วมิหนำซ้ำฆ่าผัว | ||
+ | คิดกลัวบาปกรรมไม่ทำได้ | ||
+ | พี่ขอถามสาวน้อยกลอยใจ | ||
+ | เป็นไฉนกัลยามาโศกี ฯ ๘ คำฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | นางประแดะดวงยี่หวามารศรี | ||
+ | สะอื้นพลางทางทูลไปทันที | ||
+ | ทั้งนี้เพราะกรรมได้ทำไว้ | ||
+ | ครั้งนี้มิชั่วก็เหมือนชั่ว | ||
+ | นางตีอกชกหัวและร้องไห้ | ||
+ | ยังจะกลับมาเยาะนี่เพราะใคร | ||
+ | ดูแต่หลังไหล่เถิดพ่อคุณ | ||
+ | เขาขับหนีตีไล่ไสหัวส่ง | ||
+ | เพราะพระองค์ทำความจึงวามวุ่น | ||
+ | แต่รอดมาได้เห็นก็เป็นบุญ | ||
+ | อย่าอยู่เลยพ่อคุณเขาตีตาย ฯ ๖ คำ ฯ | ||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | ลันไดได้ฟังนางโฉมฉาย | ||
+ | เขม้นมองดูหลังยังไม่ลาย | ||
+ | พระจูบซ้ายจูบขวาห้าหกที | ||
+ | เอาพระหัตถ์ช้อนคางแล้วพลางปลอบ | ||
+ | อยู่พะอืดพะออบเลยโฉมศรี | ||
+ | จะละห้อยน้อยใจไปไยมี | ||
+ | บุญพี่กับนางได้สร้างมา | ||
+ | อันระตูฤๅจะคู่กับอนงค์ | ||
+ | มิใช่วงศ์อสัญแดหวา | ||
+ | โฉมเฉลาเจ้าเหมือนบุษบา | ||
+ | จรกาฤๅจะควรกับนวลน้อง | ||
+ | ถ้าเป็นระเด่นเหมือนเช่นพี่ | ||
+ | จึงควรที่ร่วมภิรมย์ประสมสอง | ||
+ | ตรัสพลางทางชวนนวลละออง | ||
+ | เยื้องย่องนำพานางเดิน ฯ ๘ คำฯ เพลง | ||
+ | |||
+ | ๏ ครั้นถึงจึงขึ้นบนตำหนัก | ||
+ | ตงหักกลัวจะตกงกเงิ่น | ||
+ | ค่อยพยุงจูงนางย่างดำเนิน | ||
+ | ชวนเชิญโฉมเฉลาเข้าที่นอน | ||
+ | ลดองค์ลงเหนือไสยาสน์ | ||
+ | พระยี่ภู่ปูลาดขาดสองท่อน | ||
+ | แล้วจึงมีมธุรสสุนทร | ||
+ | อ้อนวอนโฉมเฉลาให้เข้ามุ้ง ฯ ๔ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | (โอ้โลม) | ||
+ | ๏ โฉมเอยโฉมเฉิด | ||
+ | เอนหลังบ้างเถิดจวนจะรุ่ง | ||
+ | เสียแรงพี่รักเจ้าเท่ากระบุง | ||
+ | จะไปนั่งทนยุงอยู่ทำไม | ||
+ | เชิญมาร่วมเรียงเคียงเขนย | ||
+ | อย่าทุกข์เลยพี่จะหามาเลี้ยงให้ | ||
+ | เรามั่งมีศรีสุขทุกข์อะไร | ||
+ | เงินทองถมไปที่ในคลัง | ||
+ | แต่ข้าวสารให้ทานพี่นี้ฤๅ | ||
+ | ไม่พักซื่อได้ขายเสียหลายถัง | ||
+ | ทั้งปลาแห้งปลาทูปูลัง | ||
+ | เสบียงกรังมีมากไม่ยากจน | ||
+ | ขี้คร้านขายนมวัวเหมือนผัวเจ้า | ||
+ | พี่ได้เปล่าสารพัดไม่ขัดสน | ||
+ | จงนั่งกินนอนกินสิ้นกังวล | ||
+ | พี่จะขวนขวายหาเอามาเลี้ยง | ||
+ | ว่าพลางทางตระโบมโลมเล้า | ||
+ | อะไรเล่าฮึดฮัดเฝ้าฟัดเหวี่ยง | ||
+ | อุแม่เอ๋ยมิได้เจ้าใกล้เคียง | ||
+ | จะตกเตียงไปแล้วแก้วกลอยใจ ฯ ๑๐ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | (ร่าย) | ||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | นางประแดะคลุ้มคลั่งผินหลังให้ | ||
+ | ถอยถดขยดหนีภูวไนย | ||
+ | นี่อะไรน่าเกลียดเบียดคะยิก | ||
+ | ลูกผัวหัวท้ายเขาไม่ขาด | ||
+ | ทำประมาทเปล่าเปล่าเฝ้าหยุกหยิก | ||
+ | ปัดกรค้อนควักผลักพลิก | ||
+ | อย่าจุกจิกกวนใจไม่สบาย | ||
+ | อย่าพักอวดสมบัติพัสถาน | ||
+ | ไม่ต้องการดอกจะสู้อยู่เป็นหม้าย | ||
+ | หนีศึกปะเสือเบื่อจะตาย | ||
+ | เฝ้ากอดก่ายไปได้ไม่ละวาง ฯ ๖ คำ ฯ | ||
+ | (ชาตรี) | ||
+ | |||
+ | ๏ สุดเอยสุดลิ่ม | ||
+ | เชิญผินหน้ามายิ้มกับพี่บ้าง | ||
+ | เฝ้าถือโทษโกรธเกรี้ยวไปเจียวนาง | ||
+ | ไม่เห็นอกพี่บ้างที่อย่างนั้น | ||
+ | เหมือนน้ำอ้อยใกล้มดใครอดได้ | ||
+ | พี่ก็ไม่มีคู่ตุนาหงัน | ||
+ | ตั้งแต่นวดปวดท้องมาสองวัน | ||
+ | ใครจะกลั้นอดทนพ้นกำลัง | ||
+ | ทำไมกลับลูกผัวกลัวมันไย | ||
+ | ผิดก็เสียสินไหมให้ห้าชั่ง | ||
+ | จูบเชื่อเสียก็ได้แล้วไม่ฟัง | ||
+ | ลูบหน้าลูบหลังนั่งแอบอิง | ||
+ | น้อยฤๅนมแต่ละข้างช่างครัดเคร่ง | ||
+ | ปลั่งเปล่งใจหายคล้ายกล้วยปิ้ง | ||
+ | อุ้มขึ้นใส่ตักรักจริงจริง | ||
+ | อย่าสะบิ้งสะบัดตัดไมตรี | ||
+ | ยิ่งดิ้นยิ่งกอดสอดสัมผัส | ||
+ | อุยหน่าอย่ากัดพระหัตถ์พี่ | ||
+ | ปัดป้องว่องไวอยู่ในที | ||
+ | จนล้มกลิ้งลงบนที่บรรทมใน | ||
+ | อัศจรรย์ลั่นพิลึกกึกก้อง | ||
+ | ฟ้าร้องครั่นครื้นดังปืนใหญ่ | ||
+ | เกิดพายุโยนยวบสวบสาบไป | ||
+ | หลังคาพาไลแทบเปิดเปิง | ||
+ | ฝนตกห่าใหญ่ใส่ซู่ซู่ | ||
+ | ท่วมคูท่วมหนองออกนองเจิ่ง | ||
+ | คางคกขึ้นกระโดดโลดลองเชิง | ||
+ | อึ่งอ่างเริงร่าร้องแล้วพองคอ | ||
+ | นกกระจอกออกจากวิมานมะพร้าว | ||
+ | ต้องฝนทนหนาวอยู่งอนหง่อ | ||
+ | ขนคางหางปีกเปียกจนมอซอ | ||
+ | ฝนก็พอขาดเม็ดเสร็จบันดาล ฯ ๑๖ คำ โลม | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | นางประแดะหูกลวงห่วงสงสาร | ||
+ | ได้ร่วมรักชักเชยก็ชื่นบาน | ||
+ | เยาวมาลย์หมอบเมียงเคียงกาย | ||
+ | แล้วเชิญหม้อตุ้งก่าออกมาตั้ง | ||
+ | นางนั่งเป่าชุดจุดถวาย | ||
+ | ทรงศักดิ์ชักพลางทางยิ้มพราย | ||
+ | โฉมฉายขวั้นอ้อยคอยแก้คอ | ||
+ | ถูกเข้าสามจะหลิ่มยิ้มแหยะ | ||
+ | นางประแดะสรวลสันต์กลั้นหัวร่อ | ||
+ | พระโฉมยงทรงขับเพลงซอ | ||
+ | ฉลองหอทรงธรรม์แล้วบรรทม ฯ ๖ คำ ฯ ตระ | ||
+ | |||
+ | (ช้า) | ||
+ | ๏ มาจะกล่าวบทไป | ||
+ | ถึงนางกระแอทวายขายขนม | ||
+ | เจ้าเงินโปรดปรานพานอุดม | ||
+ | นุ่งห่มผืนผ้าค่าบาทเฟื้อง | ||
+ | ผูกดอกออกจากฟากเรือนนาย | ||
+ | ลดเลี้ยวเที่ยวขายข้าวเหนียวเหลือง | ||
+ | ตามตลาดเสาชิงช้ามาเนืองเนือง | ||
+ | ปลดเปลื้องเฟื้องไพได้ทุกวัน | ||
+ | กับโฉมยงองค์ระเด่นลันได | ||
+ | รักใคร่กันอยู่ก่อนเคยผ่อนผัน | ||
+ | เชื่อถือซื้อขายเป็นนิรันดร์ | ||
+ | เว้นวันสองวันหมั่นไปมา น ๖ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | (ร่าย) | ||
+ | ๏ วันเอยวันหนึ่ง | ||
+ | คิดถึงลันไดจะไปหา | ||
+ | นึ่งข้าเหนียวใส่กระจากยาตรา | ||
+ | ตรงมาหาชู้คู่ชมเชย | ||
+ | เที่ยวเตร็ดเตร่เร่ร้องแล้วท่องเที่ยว | ||
+ | ซื้อข้าวเหนียวหน้ากุ้งกินแม่เอ๋ย | ||
+ | ที่รู้จักทักถามกันตามเคย | ||
+ | บ้างเยาะเย้ยหยอกยื้อซื้อหากัน | ||
+ | พอเวลาตลาดวายสายแสง | ||
+ | กระเดียดตระแกรงกรีดกรายผายผัน | ||
+ | ทอดกรอ่อนคอจรจรัล | ||
+ | มาปราสาทสุวรรณเจ้าลันได ฯ ๖ คำ ฯ เพลงช้า | ||
+ | |||
+ | ๏ ครั้นถึงจึงขึ้นบนนอกชาน | ||
+ | เห็นทวารบานปิดคิดสงสัย | ||
+ | ทั้งเสียงคนคุยกันอยู่ขั้นใน | ||
+ | ทรามวัยแหวกช่องมองดู | ||
+ | เห็นโฉมยงองค์ประแดะกับระเด่น | ||
+ | คลี่ผ้าหาเล็นกันง่วนอยู่ | ||
+ | โมโหมืดหน้าน้ำตาพลู | ||
+ | ดังหัวหูจะแยกแตกทำลาย | ||
+ | นี่เมียอ้ายประดู่อยู่หัวป้อม | ||
+ | ไยจึงมายินยอมกันง่ายง่าย | ||
+ | ทั้งสีจักรยักหล่มถ่มร้าย | ||
+ | มันจะให้ฉิบหายขายตน | ||
+ | ชิชะเจ้าระเด่นพึ่งเห็นฤทธิ์ | ||
+ | แต่ผ้านุ่งยังไม่มิดจะปิดก้น | ||
+ | จองหองสองเมียจะเสียคน | ||
+ | คิดว่ายากจนเฝ้าปรนปรือ | ||
+ | จึงแกล้งเรียกพลันเจ้าลันได | ||
+ | ค่าข้าเหนียวสองไพไม่ให้ฤๅ | ||
+ | ผ่อนผัดนัดหมายมาหลายมื้อ | ||
+ | แม่จะยื้อให้อายขายหน้าเมีย ฯ ๑๐ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | โฉมระเด่นลันไดแรกได้เสีย | ||
+ | กำลังนั่งเคล้าเฝ้าคลอเคลีย | ||
+ | ชมโฉมโลมเมียอยู่ริมมุ้ง | ||
+ | ยกบาทพาดเพลาเกาสีข้าง | ||
+ | สัพยอกหยอกนางอย่างลิงถุง | ||
+ | แล้วยื่นมือมาจี้เข้าที่พุง | ||
+ | นางสะดุ้งดุกดิกพลิกตะแคง | ||
+ | เขาจะนอนดีดีเฝ้าจี้ไช | ||
+ | ช่างกระไรหน้าเป็นเอ็นแข็ง | ||
+ | จะนิ่งอยู่สักประเดี๋ยวทำเรี่ยวแรง | ||
+ | มาแหย่แย่งกวนใจไปทีเดียว | ||
+ | พอระเด่นลันไดยินเสียงเรียกหา | ||
+ | ก็รู้ว่าชู้เก่าเจ้าข้าวเหนียว | ||
+ | จึงร้องว่าใครนั่นขันจริงเจียว | ||
+ | จะมาเที่ยวจัณฑาลพาลเอาความ | ||
+ | ค่าข้าเหนียวสองไพข้าให้แล้ว | ||
+ | มาทำเสียงแจ้วแจ้วไม่เกรงขาม | ||
+ | ไม่ได้ติดค้างมาอย่าวู่วาม | ||
+ | ลุกลามสิ้นทีมีแต่อึง ฯ ๑๐ ฯ เจรจา | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | นางทวายยิ่งพิโรธโกรธขึ้ง | ||
+ | ยืนกระทืบบนนอกชานอยู่ตึงตึง | ||
+ | หึงหวงด่าว่าท้าทาย | ||
+ | นี่แน่อ้ายสำเร็จเจ็ดตะคุก | ||
+ | มาลืมคุณข้าวสุกเสียง่ายง่าย | ||
+ | กูเชื่อหน้าคิดว่าลูกผู้ชาย | ||
+ | จึงสู้ขายติดค้างยังไม่รับ | ||
+ | ช่างโกหกพกลมประสมประสาน | ||
+ | จะประจานเสียให้สมที่สับปลับ | ||
+ | แต่เบี้ยติดสองไพยังไม่รับ | ||
+ | กูสิ้นนับถือแล้วอ้ายลันได ฯ ๖ คำ ฯ | ||
+ | |||
+ | ๏ เมื่อนั้น | ||
+ | ระเด่นตอบตามอัชญาสัย | ||
+ | เขาขี้คร้านพูดจาอย่าหนักไป | ||
+ | ข้ารู้ใจเจ้าดอกกัลยา | ||
+ | เจ้าพิโรธโกรธขึ้งเพราะหึงหวง | ||
+ | จึงจาบจ้วงล่วงเกินเป็นหนักหนา | ||
+ | ข้าผิดแล้วกลอยใจได้เมตตา | ||
+ | เชิญเข้ามาเคหาปรึกษากัน ฯ ๔ คำฯ | ||
</tpoem> | </tpoem> | ||
+ | |||
+ | บทละคอนเรื่อง ระเด่นลันได ตามฉบับเดิม ที่ได้เคยเห็นมาแต่ก่อน เรื่องนี้ต่อไป นางทวายเข้าไปในเรือน เกิดทะเละ กับ นางประแดะ นางทวายไล่ตีนางประแดะ ลอดล่องหนีไป แล้วระเด่นลันได โลมนางทวายเข้าห้อง เป็นหมดเรื่อง เพียงนั้น พอได้เล่มสมุดไทย ๑ หนังสือเรื่องนี้ มีผู้ชอบกันมาก มันบ่นกันว่า เสียดายที่จบเสีย จึงมีผู้อื่นแต่งต่อ คิดผูกเรื่องต่อไป ตามอำเภอใจอีกยืดยาว อย่างเช่นพิมพ์ขายในตลาด สำนวนไม่ถึงตอนต้น ด้วยผู้แต่ง ไม่มีความสามารถ ในวรรณคดี เหมือนพระมหามนตรี (ทรัพย์) ทั้งเรื่องที่ต่อ ก็ไม่เป็นเรื่องจริง ดังตอนต้น จึงได้ตัดเสีย ไม่พิมพ์ในสมุดเล่มนี้ คงพิมพ์ที่พระมหามนตรี (ทรัพย์) แต่ง มีฉบับในหอพระสมุด ฯ เพียงเท่านี้ | ||
+ | |||
== เชิงอรรถ == | == เชิงอรรถ == | ||
== อ้างอิง == | == อ้างอิง == | ||
[http://www.khonnaruk.com/html/book/liturature/k_raden.html] | [http://www.khonnaruk.com/html/book/liturature/k_raden.html] |
รุ่นปัจจุบันของ 13:21, 13 พฤษภาคม 2553
เนื้อหา |
ข้อมูลเบื้องต้น
แม่แบบ:เรียงลำดับ ผู้แต่ง: พระมหามนตรี (ทรัพย์)
บทประพันธ์
อธิบายบทละคอน เรื่อง ระเด่นลันได
บทละคอนเรื่องระเด่นลันได ถ้าอ่านโดยไม่ทราบเค้ามูล ก็คงจะเข้าใจว่าเป็นบทแต่งสำหรับเล่นละคอนตลก แต่ความจริงไม่เป็นเช่นนั้น หนังสือเรื่องระเด่นลันไดนี้ที่แท้เป็นจดหมายเหตุ หากผู้แต่งประสงค์จะจดให้ขบขันสมกับเรื่องที่จริง จึงแกล้งแต่งเป็นละคอนสำหรับอ่านกันเล่น หาได้ตั้งใจจะให้ใช้เป็นบทเล่นละคอนไม่
เรื่องระเด่นลันได เป็นหนังสือแต่งในรัชกาลที่ ๓ เล่ากันมาว่า ครั้งนั้น มีแขกคนหนึ่งชื่อ ลันได ทำนองจะเป็นพวกฮินดู ชาวอินเดีย ซัดเซพเนจรเข้ามาอาศัยอยู่ที่ใกล้โบสถ์พราหมณ์ในกรุงเทพฯ เที่ยวสีซอขอทานเขาเลี้ยงชีพเป็นนิจ พูดภาษาไทยก็มิใคร่ได้ หัดร้องเพลงขอทานได้เพียงว่า "สุวรรณหงษ์ถูกหอกอย่าบอกใคร บอกใครก็บอกใคร" ร้องทวนอยู่แต่เท่านี้ แขกลันไดเที่ยวขอทาน จนคนรู้จักกันโดยมากในครั้งนั้น มีแขกอีกคน ๑ เรียกกันว่า แขกประดู่ ทำนองก็จะเป็นชาวอินเดียเหมือนกัน ตั้งคอกเลี้ยงวัวนมอยู่ที่หัวป้อม (อยู่ราวที่สนามหน้าศาลสถิตยุติธรรมทุกวันนี้) มีภรรยาเป็นหญิงแขกมลายูซื่อประแดะ อยู่มาแขกลันไดกับแขกประดู่เกิดวิวาทกันด้วยเรื่องแย่งหญิงมลายูนั้น โดยทำนองที่กล่าวในเรื่องละคอน คนทั้งหลายเห็นเป็นเรื่องขบขันก็โจษกันแพร่หลาย พระมหามนตรี (ทรัพย์) ทราบเรื่อง จึงคิดแต่งเป็นบทละคอนขึ้น
พระมหามนตรี(ทรัพย์)นี้ เป็นกวีที่สามารถในกระบวนแต่งกลอนแปด จะหาตัวเปรียบได้โดยยาก แต่มามีชื่อโด่งดังในการแต่งกลอนต่อเมื่อถึงแก่กรรมแล้ว เพราะเมื่อมีชีวิตอยู่ ไม่ใคร่พอใจแต่งโดยเปิดเผย หนังสือซึ่งพระมหามนตรี(ทรัพย์) ได้ออกหน้าแต่งมีปรากฏแต่โคลงฤาษีดัดตนบท ๑ กับเพลงยาวกลบทชื่อ กบเต้นสามตอน (ซึ่งขึ้นต้นว่า "แจ็บคำจำคิดจิตขวย") บท ๑ เท่านั้น ที่พระมหามนตรี (ทรัพย์) มีชื่อเสียงสืบต่อมา จนรัชกาลหลัง ๆ เพราะแต่งหนังสืออีก ๒ เรื่อง คือ เพลงยาว แต่งว่า พระยามหาเทพ(ทองปาน) เมื่อยังเป็น จมื่นราชามาตย์เรื่อง ๑ กับบทละคอนเรื่อง ระเด่นลันไดนี้เรื่อง ๑
เพลงยาวว่าพระยามหาเทพ(ทองปาน) นั้น เล่ากันมาว่า เป็นแต่ลอบแต่ง แล้วเขียนมาปิดไว้ที่ ทิมดาบตำรวจ ในพระบรมมหาราชวัง ผู้อื่นเห็นก็รู้ว่า เป็นฝีปากพระมหามนตรี(ทรัพย์) แต่ไม่มีผู้ใดฟ้องร้องกล่าว มีแต่ผู้ลอกคัดเอาไป (แล้วเห็นจะเลยฉีกทั้งต้นหนังสือเสีย จึงไม่เกิดความฐานทอดบัตรสนเท่ห์) ด้วยครั้งนั้น มีคนชัง พระยามหาเทพ (ทองปาน) อยู่มากด้วยกัน เพลงยาวนั้น ก็เลยแพร่หลาย หอพระสมุดฯ ได้พิมพ์เพลงยาวนั้น ไว้ในหนังสือวชิรญาณวิเศษเล่ม ๓ ประจำปีกุน จุลศักราช ๑๒๔๙ (พ.ศ.๒๔๓๐)
ส่วนบทละคอนเรื่องละเด่นลันได เหตุที่แต่งเป็นดังอธิบายมาข้างต้น ถ้าผู้อ่านสังเกตจะเห็นได้ว่า ทางสำนวน แต่งดีทั้งกระบวนบทสุภาพ และวิธีที่เอาถ้อยคำขบขันเข้าสอดแซม บางแห่งกล้าใช้สำนวนต่ำช้าลงไปให้สมกับตัวบท แต่อ่านก็ไม่มีที่จะเขินเคอะในแห่งใด เพราะฉะนั้น จึงเป็นหนังสือซึ่งชอบอ่านกันแพร่หลายตั้งแต่แรกแต่งตลอดมาจนในรัชกาลหลัง ๆ นับถือกันว่าเป็นหนังสือกลอนชั้นเอกเรื่อง ๑
บทละคอนเรื่องระเด่นลันไดนี้ มีผู้ใดเคยพิมพ์มาแล้ว แต่ฉบับที่พิมพ์มาแต่ก่อนวิปลาสคลาดเคลื่อน แลมีผู้อื่นแต่งแทรกแซมเพิ่มเติมอีกเป็นอันมาก จนวิปริตผิดรูปฉบับเดิม กรรมการหอพระสมุดฯ เห็นว่าบทละคอนเรื่องละเด่นลันไดนับว่าเป็นเรื่องสำคัญในหนังสือกลอนไทยเรื่อง ๑ ซึ่งสมควรจะรักษาไว้ให้บริสุทธิ์ จึงได้พยายามหาฉบับมาแต่ที่ต่าง ๆ สำหรับชำระแล้วพิมพ์ไว้ในสมุดเล่มนี้
แต่เสียดายอยู่ที่บทตอนท้ายในเล่มนี้ยังขาดฉบับเดิมอยู่สักสามฤาสี่หน้ากระดาษ เนื้อเรื่องที่ขาดเพียงใดจะอธิบายไว้ท้ายเล่มสมุด เผื่อท่านผู้ใดมีฉบับบริบูรณ์ ถ้ามีแก่ใจคัดส่งมายังหอพระสมุดฯ ฤาให้ยืมต้นฉบับมาให้หอพระสมุดฯ ดัดได้ จะขอบพระคุณเป็นอันมาก
ดำรงราชานุภาพ
สภานายก
หอพระสมุดวชิรญาณ
วันที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ.๒๔๖๓
บทละคอนเรื่องระเด่นลันได
(ช้าปี่) | |||
๏ มาจะกล่าวบทไป | ถึงระเด่นลันไดอนาถา | ||
เสวยราชย์องค์เดียวเที่ยวรำภา | ตามตลาดเสาชิงช้าหน้าโบสถ์พราหมณ์ | ||
อยู่ปราสาทเสาคอดยอดด้วน | กำแพงแก้วแล้วล้วนด้วยเรียวหนาม | ||
มีทหารหอนเห่าเฝ้าโมงยาม | คอยปราบปรามประจามิตรที่คิดร้าย ฯ ๔ คำ ฯ | ||
๏ เที่ยวสีซอขอข้าวสารทุกบ้านช่อง | เป็นเสบียงเลี้ยงท้องของถวาย | ||
ไม่มีใครชังชิงทั้งหญิงชาย | ต่างฝากกายฝากตัวกลัวบารมี | ||
พอโพล้เพล้เวลาจะสายัณห์ | ยุงชุมสุมควันแล้วเข้าที่ | ||
บรรทมทมเหนือลำแพนแท่นมณี | ภูมีซบเซาเมากัญชา ฯ ๔ คำ ฯ | ||
(ร่าย) | |||
๏ ครั้นรุ่งแสงสุริยันตะวันโด่ง | โก้งโค้งลงในอ่างแล้วล้างหน้า | ||
เสร็จเสวยข้าตังกับหนังปลา | ลงสระสรงคงคาในท้องคลอง ฯ ๒ คำ ฯ เสมอ | ||
(ชมตลาด) | |||
๏ กระโดดคำสามทีสีเหื่อไคล | แล้วย่างขึ้นบันไดเข้าในห้อง | ||
ทรงสุคนธ์ปนละลายดินสอพอง | ชโลมสองแก้มคางอย่างแมวคราว | ||
นุ่งกางเกงเข็มหลงอลงกรณ์ | ผ้าทิพย์อาภรณ์พื้นขาว | ||
เจียระบาดเสมียนละว้ามาแต่ลาว | ดูราวกับหนังแขกเมื่อแรกมี | ||
สวมประคำดีควายตะพายย่าม | หมดจดงดงามกว่าปันหยี | ||
กุมตระบองกันหมาจะราวี | ถือซอจรลีมาตามทาง ฯ ๖ คำ ฯ เพลงช้า | ||
(ร่าย) | |||
๏ มาเอยมาถึง | เมืองหนึ่งสร้างใหม่ดูใหญ่กว้าง | ||
ปราสาทเสาเล้าหมูอยู่กลาง | มีคอกโคอยู่ข้างกำแพงวัง | ||
พระเยื้องย่างเข้าทางทวารา | หมู่หมาแห่ห้อมล้อมหน้าหลัง | ||
แกว่งตระบองป้องปัดอยู่เก้กัง | พระทรงศักดิ์หยักรั้งคอยราญรอน ฯ ๔ คำ ฯ เชิด | ||
๏ เมื่อนั้น | นางประแดะหูกลวงดวงสมร | ||
ครั้นรุ่งเช้าท้าวประดู่ภูธร | เสด็จจรจากเวียงไปเลี้ยงวัว | ||
โฉมเฉลาเนาในที่ไสยา | บรรจงหั่นกัญชาไว้ท่าผัว | ||
แล้วอาบน้ำทาแป้งแต่งตัว | หวีหัวหาเหาเกล้าผมมวย | ||
ได้ยินแว่วสำเนียงเสียงหมาเห่า | คิดว่าวัวเข้าในสวนกล้วย | ||
จึงออกมาเผยแกลอยู่แร่รวย | ตวาดด้วยสุรเสียงสำเนียงนาง | ||
พอเหลือบเห็นระเด่นลันได | อรไทผินผันหันข้าง | ||
ชม้อยชม้ายชายเนตรดูพลาง | ชะน้อยฤๅรูปร่างราวกับกลึง | ||
งามกว่าภัสดาสามี | ทั้งเมืองตานีไม่มีถึง | ||
เกิดกำหนัดกลัดกลุ้มรุมรึง | นางตะลึงแลดูพระภูมี ฯ ๑๐ คำ ฯ | ||
๏ เมื่อนั้น | พระสุวรรณลันไดเรืองศรี | ||
เหลียวพบสบเนตรนางตานี | ภูมีพิศภักตร์ลักขณา ฯ ๒ คำ ฯ | ||
(ชมโฉม) | |||
๏ สูงระหงทรงเพียวเรียวรูด | งามละม้ายคลายอูฐกะหลาป๋า | ||
พิศแต่หัวตลอดเท้าขาวแต่ตา | ทั้งสองแก้มกัลยาดังลูกยอ | ||
คิ้วก่งเหมือนกงเขาดีดฝ้าย | จมูกละม้ายคล้านพร้าขอ | ||
หูกลวงดวงพักตร์หักงอ | ลำคอโตตันสั้นกลม | ||
สองเต้าห้อยตุงดังถุงตะเคียว | โคนเหี่ยวแห้งรวบเหมือนบวบต้ม | ||
เสวยสลายาจุกพระโอษฐ์อม | มันน่าเชยน่าชมนางเทวี ฯ ๖ คำ ฯ | ||
(ร่าย) | |||
๏ นี่จะเป็นลูกสาวท้าวพระยา | ฤาว่าเป็นพระมเหสี | ||
อกใจทึกทักรักเต็มที | ก็ทรงสีซอสุวรรณขึ้นทันใด ฯ ๒ คำ ฯ | ||
(พัดชา) | |||
๏ ยักย้ายร่ายร้องเป็นลำนำ | มีอยู่สองคำจำไว้ได้ | ||
สุวรรณหงษ์ถูกหอกอย่าบอกใคร | ถูกแล้วกลับไปได้เท่านั้น ฯ ๒ คำ ฯ | ||
(ร่าย) | |||
๏ แล้วซ้ำสีอิกกระดิกนิ้ว | ทำยักคิ้วแลบลิ้นเล่นขบขัน | ||
เห็นโฉมยงหัวร่ออยู่งองัน | พระทรงธรรม์ทำหนักชักเฉื่อยไป ฯ ๒ คำ ฯ มโหรี | ||
๏ เมื่อนั้น | นางประแดะตานีศรีใส | ||
สดับเสียงสีซอพอฤทัย | ให้วาบวับจับใจผูกพัน | ||
ยิ่งคิดพิศวงพระทรงศักดิ์ | ลืมรักท้าวประดู่ผู้ผัวขวัญ | ||
ทำไฉนจะได้พระทรงธรรม์ | มาเคียงพักตร์สักวันด้วยรักแรง | ||
คิดพลางทางเข้าไปในห้อง | แล้วตักเอาเข้ากล้องมาสองแล่ง | ||
ค่อยประจงลงใส่กระบะแดง | กับปลาสลิดแห้งห้าหกตัว | ||
แล้งลงจากบรรไดมิได้ช้า | เข้ามานอบนบจบเหนือหัว | ||
เอาปลาใส่ย่ามด้วยความกลัว | แล้วยอบตัวลงบังคมก้มพักตรา ฯ ๘ คำ ฯ | ||
๏ เมื่อนั้น | ลันไดให้แสนเสน่หา | ||
อะรามรักยักคิ้วหลิ่วตา | พูดจาลดเลี้ยวเกี้ยวพาน ฯ ๒ คำ ฯ | ||
(โอ้โลม) | |||
๏ งามเอยงามปลอด | ชีวิตพี่นี้รอดด้วยข้าวสาร | ||
เป็นกุศลดลใจเจ้าให้ทาน | เยาวมาลย์แม่มีพระคุณนัก | ||
พี่ขอถามนามท้าวเจ้ากรุงไกร | ชื่อเรียงเสียงไรไม่รู้จัก | ||
เจ้าเป็นพระมเหสีที่รัก | ฤานงลักษณ์เป็นราชธิดา | ||
รูปร่างอย่างว่ากะลาสี | พี่ให้มีใจรักเจ้าหนักหนา | ||
ว่าพลางเข้าใกล้กัลยา | พระราชาฉวยฉุดยุดมือไว้ ฯ ๖ คำ ฯ | ||
(ร่าย) | |||
๏ ทรงเอยทรงกระสอบ | ทำเล่นเห็นชอบฤาไฉน | ||
ไม่รู้จักมักจี่นี่อะไร | มาเลี้ยวไล่ฉวยฉุดยุดข้อมือ | ||
ยิ่งว่าก็ไม่วางทำอย่างนี้ | พระจะมีเงินช่วยข้าด้วยฤๅ | ||
อวดว่ากล้าแข็งเข้าแย่งยื้อ | ลวนลามถามชื่อน้องทำไม | ||
น้องมิใช่ตัวเปล่าเล่าเปลือย | หยาบเหมือนขี้เลื่อยเมื่อยหัวไหล่ | ||
ลูกเขาเมียเขาไม่เข้าใจ | บาปกรรมอย่างไรก็ไม่รู้ ฯ ๖ คำ ฯ | ||
(ชาตรี) | |||
๏ ดวงเอยดวงไต้ | สบถได้เจ็ดวัดทัดสองหู | ||
ความจริงพี่มิเล่นเป็นเช่นชู้ | จะร่วมเรียงเคียงคู่กันโดยดี | ||
ถึงมิใช่ตัวเปล่าเจ้ามีผัว | พี่ไม่กลัวบาปดอกนะโฉมศรี | ||
อันนรกตกใจไปไยมี | ยมพระบาลกับพี่เป็นเกลอกัน | ||
เพียงจับมือถือแขนอย่าแค้นเคือง | จะให้น้องสองเฟื้องอย่าหุนหัน | ||
แล้วแก้เงินในไถ้ออกให้พลัน | นี่แลขันหมากหมั้นกัลยา | ||
พอดึกดึกสักหน่อยนะน้องแก้ว | พี่จะลอดล่องแมวขึ้นไปหา | ||
โฉมเฉลาเจ้าจงได้เมตตา | เปิดประตูไว้ท่าอย่าหลับนอน ฯ ๘ คำฯ | ||
(ร่าย) | |||
๏ ทรงเอยทรงกระโถน | |||
อย่ามาพักปลอบโยนให้โอนอ่อน | |||
ไม่อยากได้เงินทองของภูธร | |||
นางเคืองค้อนคืนให้ไม่อินัง | |||
ช่างอวดอ้างว่านรกไม่ตกใจ | |||
คนอะไรอย่างนี้ก็มีมั่ง | |||
เชิญเสด็จรีบออกไปนอกวัง | |||
อย่ามานั่งวิงวอนทำค่อนแคะ | |||
เพียงแต่รู้จักกันกระนั้นพลาง | |||
พอเป็นทางไมตรีกระนี้แหละ | |||
เมื่อพระอดข้าวปลาจึงมาแวะ | |||
น้องฤๅชื่อประแดะดวงใจ | |||
ท่านท้าวประดู่ผู้เป็นผัว | |||
ยังไปเลี้ยงวัวหากลับไม่ | |||
แม้นยังช้าชีวันจะบรรลัย | |||
เร่งไปเสียเถิดพระราชา ฯ ๘ คำ ฯ | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
ลันไดยิ้มเยาะหัวเราะร่า | |||
เราไม่เกรงกลัวอิทธิฤทธา | |||
ท้าวประดู่จะมาทำไมใคร | |||
พี่ก็ทรงศักดากล้าหาญ | |||
แต่ข้าวสารเต็มกระบุงยังแบกไหว | |||
ปลาแห้งพี่เอาเข้าเผาไฟ | |||
ประเดี๋ยวใจเคี้ยวเล่นออกเป็นจุณ ฯ ๔ คำ ฯ | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
นางประแดะเห็นความจะวามวุ่น | |||
จึงนบนอบยอบตัวทำกลัวบุญ | |||
ไม่รู้เลยพ่อคุณนี้มีฤทธิ์ | |||
กระนั้นซิเมื่อพระเสด็จมา | |||
หมูหมาย่นย่อไม่รอติด | |||
ขอพระองค์จงฟังยั้งหยุดคิด | |||
อย่าให้มีความผิดติดตัวน้อง | |||
ท้าวประดู่ภูธรเธอขี้หึง | |||
ถ้ารึ้งท้าวเธอจะทุบถอง | |||
จงไปเสียก่อนเถิดพ่อรูปทอง | |||
อย่าให้น้องชั่วช้าเป็นราคี | |||
ว่าพลางทางสลัดปัดกร | |||
ควักค้อนยักหน้าตาหยิบหยี | |||
นาดกรอ่อนคอจรลี | |||
เดินหนีมิให้มาใกล้กราย ฯ ๘ คำ ฯ | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
ลันไดไม่สมอารมณ์หมาย | |||
เห็นนางหน่ายหนีลี้กาย | |||
โฉมฉายสลัดพลัดมือไป | |||
มันให้ขัดสนยืนบ่นออด | |||
เจ้ามาทอดทิ้งพี่หนีไปได้ | |||
ตัวกูจะอยู่ไปทำไม | |||
ก็ยกย่ามขึ้นไหล่ไปทั้งรัก ฯ ๔ คำ ฯ เชิด | |||
(ช้า) | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
ท้าวประดู่สุริย์วงศ์ทรงกระฏัก | |||
เที่ยวเลี้ยงวัวล้าเลื่อยเหนื่อยนัก | |||
เข้าหยุดยั้งนั่งพักในศาลา | |||
วันเมื่อมเหสีจะมีเหตุ | |||
ให้กระตุกในเนตรทั้งซ้ายขวา | |||
ตุ๊กแกตกลงตรงพักตรา | |||
คลานไปคลานมาก็สิ้นใจ | |||
แม่โคขึ้นสัดผลัดโคตัวผู้ | |||
พิเคราะห์ดูหลากจิตคิดสงสัย | |||
จะมีเหตุแม่นมั่นพรั่นพระทัย | |||
ก็เลี้ยวไล่โคกลับเข้าพารา ฯ ๖ คำ ฯ เชิด | |||
(ร่าย) | |||
๏ ครั้นถึงขอบรั้วริมหัวป้อม | |||
พระวิ่งอ้อมเลี้ยวลัดสกัดหน้า | |||
ไล่เข้าคอกพลันมิทันช้า | |||
เอาขี้หญ้าสุมควันกันริ้นยุง | |||
ยืนลูบเนื้อตัวที่หัวบันได | |||
แล้วเข้าในปรางค์รัตน์ผลัดผ้านุ่ง | |||
ยุรยาตรเยื้องย่างมาข้างมุ้ง | |||
เห็นกระบุงข้าวกล้องนั้นพร่องไป | |||
ปลาสลิดในกระบายก็หายหมด | |||
พระทรงยศแสนเสียดายน้ำลายไหล | |||
กำลังหิวข้าเศร้าเสียใจ | |||
ก็เอนองค์ลงในที่ไสยา | |||
กวักพระหัตถ์ตรัสเรียกมเหสี | |||
เข้ามานี่พุ่มพวงดวงยี่หวา | |||
วันนี้มีใครไปมา | |||
ยังพาราเราบ้างฤๅอย่างไร ฯ ๘ คำ ฯ | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
นางประแดะฟังความที่ถามไถ่ | |||
กราบทูลเยื้องยักกระอักกระไอ | |||
ร้อนตัวกลัวภัยพระภูมี | |||
ตั้งแต่พระเสด็จไปเลี้ยงวัว | |||
น้องก็นอนซ่อนตัวอยู่ในที่ | |||
ไม่เห็นใครไปมายังธานี | |||
จงกราบใต้เกศีพระราชา ฯ ๔ คำ ฯ | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
ท้าวประดู่ได้ฟังให้กังขา | |||
จึงซักไซ้ไล่เลียงกัลยา | |||
ว่าไม่มีใครมาน่าแคลงใจ | |||
ทั้งข้าวทั้งปลาของข้าหาย | |||
เขายักย้ายขายซื้อฤๅไฉน | |||
ฤาลอบลักตักให้แก่ผู้ใด | |||
จงบอกไปนะน้องนางอย่าพรางกัน ฯ ๔ คำ ฯ | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
นางประแดะตกใจอยู่ไหวหวั่น | |||
ด้วยแรกเริ่มเดิมทูลพระทรงธรรม์ | |||
ว่าใครนั่นมิได้จะไปมา | |||
ครั้นจะไม่ทูลความไปตามจริง | |||
ก็เกรงกริ่งด้วยพิรุธมุสา | |||
สารภาพกราบลงกับบาทา | |||
วอนว่าอย่าโกรธจงโปรดปราน | |||
วันนี้มีหน่อกระษัตรา | |||
เที่ยวมาสีซอขอข้าวสาร | |||
น้องเสียมิได้ก็ให้ทาน | |||
สิ้นคำให้การแล้วผ่านฟ้า ฯ ๖ คำ ฯ | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
ท้าวประดู่ได้ฟังนึกกังขา | |||
ใครหนอหน่อเนื้อกระษัตรา | |||
เที่ยวมาสีซอขอทาน | |||
เห็นจะเป็นอ้ายระเด่นลันได | |||
ที่ครอบครองกรุงไกรเทวฐาน | |||
มันแสแสร้งแกล้งทำมาขอทาน | |||
จะคิดอ่านตัดเสบียงเอาเวียงชัย | |||
จึงชี้หน้าว่าเหม่มเหสี | |||
มึงนี้เหมือนหนอนที่บ่อนไส้ | |||
ขนเอาปลาข้าวให้เขาไป | |||
วันนี้จะได้อะไรกิน | |||
ถ้ามั่งมีศรีสุขก็ไม่ว่า | |||
นี่สำเภาเลากาก็แตกสิ้น | |||
แล้วมิหนำซ้ำตัวเป็นมลทิน | |||
จะอยู่กินต่อไปให้คลางแคลง | |||
เจ้าศรัทธาอาศัยอย่างไรกัน | |||
ฤๅกระนี้กระนั้นก็ไม่แจ้ง | |||
จะเลี้ยงไว้ไยเล่าเมื่อข้าวแพง | |||
ฉวยชักพระแสงออกแกว่งไกว ฯ ๑๐ คำ ฯ | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
นางประแดะเลี้ยวลอดกอดเอวได้ | |||
เหมือนเล่นงูกินหางไม่ห่างไกล | |||
นึกประหวั่นพรั่นใจอยู่รัวรัว | |||
โปรดก่อนผ่อนถามเอาความจริง | |||
เมื่อชั่วแล้วแทงทิ้งเถิดทูนหัว | |||
อันพระสามีเป็นที่กลัวฅ | |||
จะทำนอกใจผัวอย่าพึงคิด | |||
พระหึงหวงมิได้ล่วงพระอาญา | |||
ที่ให้ข้าให้ปลานั้นข้าผิด | |||
น้องนี้ทำชั่วเพราะมัวมิด | |||
ทำไมกับชีวิตไม่เอื้อเฟื้อ | |||
น้องมิได้ศรัทธาอาศัย | |||
จะลุยน้ำดำไฟเสียให้เชื่อ | |||
ไม่มีอาลัยแก่เลือดเนื้อ | |||
แต่เงื้อเงื้อไว้เถิดอย่าเพ่อแทง ฯ ๘ คำ ฯ | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
ท้าวประดู่เดือดนักชักพระแสง | |||
ถ้าบอกจริงให้กูอีหูแหว่ง | |||
จะงดไว้ไม่แทงอย่าแย่งยุด | |||
กูก็เคยเกี้ยวชู้รู้มารยา | |||
มิใช่มึงโสดามหาอุด | |||
มันเป็นถึงเพียงนี้ก็พิรุธ | |||
ถึงดำน้ำร้อยผุดไม่เชื่อใจ | |||
ยังจะท้าพิสูจน์รูดลอง | |||
พ่อจะถองให้ยับจนตับไหล | |||
เห็นว่ากูหลงรักแล้วหนักไป | |||
เออระไรนี่หวาน้ำหน้ามึง | |||
หาเอาใหม่ให้ดีกว่านี้อีก | |||
ผิดก็เสียเงินปลีกสองสลึง | |||
กังลังกริ้วโกรธาหน้าตึง | |||
ถีบผึงถูกตะโพกโขยกไป ฯ ๘ คำ ฯ | |||
(โอ้) | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
นางประแดะเจ็บจุกลุกไม่ไหว | |||
ค่อยยืนยันกะเผลกเขยกไป | |||
เข้ายังครัวไปร้องไห้โฮ | |||
ร้องดิ้นเร่าเร่าพ่อเจ้าเอ๋ย | |||
ลูกไม่เคยโกหกพกโมโห | |||
เสียแรงได้เป็นข้ามาแต่โซ | |||
กลับพาโลโกรธาด่าตี | |||
น้องก็ไร้ญาติวงศ์พงศา | |||
หมายพึ่งบาทาพระโฉมศรี | |||
โคตรพ่อโคตรแม่ก็ไม่มี | |||
อยู่ถึงเมืองตานีเขาตีมา | |||
ตะโพกโดกโดยเมียแทบคลาด | |||
ถีบด้วยพระบาทดังชาติข้า | |||
จะอยู่ไปไยเล่าไม่เข้ายา | |||
ตายโหงตายห่าก็ตายไป ฯ ๘ คำ ฯ โอด | |||
(ร่าย) | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
ท้าวประดู่ได้ฟังดังเพลิงไหม้ | |||
ดูดู๋อีประแดะค่อนแคะได้ | |||
กลับมาด่าได้อีใจเพชร | |||
เอาแต่คารมเข้าข่มกลบ | |||
กูจะจิกหัวตบเสียให้เข็ด | |||
ชะช่างโศกาน้ำตาเล็ด | |||
กูรู้เช่นเห็นเท็จทุกสิ่งอัน ฯ ๔ คำ ฯ | |||
๏ ว่าพลางทางคว้าได้พร้าโต้ | |||
ดุด่าตาโตเท่ากำปั้น | |||
ผลักประตูครัวไฟเข้าไปพลัน | |||
นางประแดะยืนยันลั่นกลอนไว้ | |||
ผลักมาผลักไปอยู่เป็นครู่ | |||
จะเข้าไปในประตูให้ให้จงได้ | |||
กระทืบฟากโครมครามความแค้นใจ | |||
อึกทึกทั่วไปในพารา ฯ ๔คำ เชิด ฯ | |||
๏ บัดนั้น | |||
พวกหัวไม้กระดูกผีขี้ข้า | |||
บ่อนเลิกกินเหล้าเมากลับมา | |||
ได้ยินเสียงเถียงด่ากันอื้ออึง | |||
จึงหยุดนั่งข้างนอกริมคอกวัว | |||
ว่าเมียผัวคู่นี้มันขี้หึง | |||
พอพลบค่ำราตรีตีตะบึง | |||
อึงคะนึงนักหนาน่าขัดใจ | |||
แล้วคว้าก้อนอิฐปาเข้าฝาโผง | |||
ตกถูกโอ่งปาล้อแลหม้อไห | |||
พลางตบมือร้องเย้ยเผยไยไย | |||
แล้ววิ่งไปทางตะพานบ้านตะนาว ฯ ๖ คำ ฯ รัว | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
ท้าวประดู่ตาพองร้องบอกกล่าว | |||
หยิบงอบครอบหัวตัวสั่นท้าว | |||
อ้ายพ่อจ้าวชาวบ้านวานช่วยกัน | |||
วัวน้ำวัวหลวงกูได้เลี้ยง | |||
อิฐมาเปรี้ยงเปรี้ยงเสียงสนั่น | |||
สาเหตุมีมาแต่กลางวัน | |||
คงได้เล่นเห็นกันอ้ายลันได | |||
ทั้งนี้เพราะอีมะเหเสือ | |||
จะกินเลือดกินเนื้อกูให้ได้ | |||
ขว้างวังครั้งนี้ไม่มีใคร | |||
ชู้มึงฤๅมิใช่อีมารยา | |||
พระฉวยได้ไม้ยุงปัดกวัดแกว่ง | |||
สำคัญว่าพระแสงขึ้นเงื้อง่า | |||
เลี้ยวไล่ฟาดฟันกัลยา | |||
วิ่งมาวิ่งไปอยู่ในครัว ฯ ๘ คำฯ | |||
(สับไทย) | |||
๏ เหม่เหม่ดูดู๋อีประแดะ | |||
ทีนี้แหละเห็นประจักษ์ว่ารักผัว | |||
หากกูรู้ตัว | |||
หัวไม่แตกแตน | |||
ขว้างแล้วหนีไป | |||
มิได้ตอนแทน | |||
ยิ่งคิดยิ่งแค้น | |||
เลี้ยวเล่นไล่ตี ฯ ๔ คำฯ | |||
(รื้อ) | |||
๏ ทรงเอยทรงกระบอก | |||
น้องไม่เห็นด้วยดอกพระโฉมศรี | |||
ปาวังครั้งนี้ | |||
มิใช่ชู้น้อง | |||
สืบสมดังว่า | |||
สัญญาให้ถอง | |||
วิ่งพลางทางร้อง | |||
ตีน้องทำไม ฯ ๔คำฯ | |||
๏ เหลือเอยเหลือเถน | |||
ขัดเขมรขบฟันมันไส้ | |||
ปรานีมึงไย | |||
ใครใช้มีชู้ | |||
ไม่เลี้ยงเป็นเมีย | |||
ไปเสียอย่าอยู่ | |||
รั้ววังของกู | |||
ปิดประตูตีแมว ฯ ๔ฯ เชิด | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
นางประแดะเหนื่อยอ่อนลงนอนแซ่ว | |||
ยกมือท่วมหัวลูกกลัวแล้ว | |||
กอดก้นผัวแก้วเข้าคร่ำครวญ ฯ ๒ คำ ฯ | |||
(โอ้) | |||
๏ โอ้พระยอดตองของน้องเอ๋ย | |||
กระไรเลยช่างสลัดตัดเด็ดด้วน | |||
แม้นชั่วช้าจริงจังก็บังควร | |||
พ่อมาด่วนมุทะละดุดันไป | |||
จงตีแต่พอหลาบปราบพอจำ | |||
จะเฝ้าเวียนเฆี่ยนซ้ำไปถึงไหน | |||
งอโทษโปรดเถิดพระภูวไนย | |||
น้องยังไม่เคยไกลพระบาทา | |||
ถึงไม่เลี้ยงเป็นพระมเหสี | |||
จะขอพึ่งบารมีเป็นขี้ข้า | |||
ไม่ถือว่าเป็นผัวเพราะชั่วข้า | |||
จะก้มหน้าเป็นทาสกวาดขี้วัว | |||
สิบคนเข้าไม่เท่าหนึ่งคนออก | |||
อยู่กับคอกช่วยใช้พ่อทูนหัว | |||
ร่ำพลางทางทุ่มทอดตัว | |||
ตีอกชกหัวแล้วโศกา ฯ ๘ คำ ฯ โอด | |||
(ร่าย) | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
ท้าวประดู่ได้ฟังนางร่ำว่า | |||
ให้นึกสมเพชเวทนา | |||
น้ำตาไหลนองสักสองครุ | |||
หวนรำลึกนึกถึงอ้ายลันได | |||
กลับเจ็บใจไม่เหือดเดือดดุ | |||
โมโหมืดหน้าบ้ามุทะลุ | |||
กระดูกผุเมื่อไรก็ไม่ลืม | |||
กูไม่อยากเอาไว้ใช้สอย | |||
นึกว่าปล่อยสิงสัตว์วัดสามปลื้ม | |||
แต่ชั้นทอผ้ายังคาฟืม | |||
ดีแต่ยืมเข้ากินอีสิ้นอาย | |||
แม่เรือนเช่นนี้มิเป็นผล | |||
มันจะลวงล้วงก้นจนฉิบหาย | |||
ไปเสียมึงไปไม่เสียดาย | |||
กูจะเป็นพ่อหม้ายสบายใจ | |||
สาวสาวชาววังก็ยังถม | |||
ไม่ปรารมภ์ปรารี้จะมีใหม่ | |||
เก็บเงินค่านมผสมไว้ | |||
หาไหนหาได้ไม่ทุกข์ร้อย ฯ ๑๐ คำฯ | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
นางประแดะหูกลวงดวงสมร | |||
สุดที่จะพรากจากจร | |||
บังอรข้อนทรวงเข้าร่ำไร ฯ ๒ คำฯ | |||
(โอ้) | |||
๏ โอ้พ่อใจบุญของเมียเอ๋ย | |||
แปดค่ำพ่อเคยเชือดคอไก่ | |||
ต้มปลาร้าตั้งหม้อกับหน่อไม้ | |||
เมียยังอาลัยได้อยู่กิน | |||
พระเคยรีดนมวัวให้เมียขาย | |||
แม้สายที่ยังไม่หมดสิ้น | |||
เหลือติดก้นกระบอกเอาจอกริน | |||
ให้เมียกินวันละนิดคิดทุกวัน | |||
แต่พอพลบรบเมียเข้ากระท่อม | |||
พ่อนั่งกล่อมจนหลับแล้วรับขวัญ | |||
ในมุ้งยุงชุมพ่อสุมควัน | |||
สารพันทรงศักดิ์จะรักเมีย | |||
จะกินอยู่พูวายสบายใจ | |||
พ่อมอบไว้ให้วันละสิบเบี้ย | |||
อกน้องดังไฟไหม้ลามเลีย | |||
จะทิ้งเมียเสียได้ไม่ไยดี | |||
เที่ยงนางกลางคืนพ่อทูนหัว | |||
จะให้ออกนอกรั้วลูกกลัวผี | |||
ก้นไต้ก้นไฟก็ไม่มี | |||
ผัดรุ่งพรุ่งนี้เถิดพ่อคุณ | |||
ถึงจะไม่ได้อยู่บนตำหนัก | |||
ขอพึ่งพักอาศัยเพียงใต้ถุน | |||
ยกโทษโปรดเถิดพ่อใจบุญ | |||
เสียแรงได้เลี้ยงขุนมีคุณมา ฯ ๑๒ คำ ฯ | |||
(ร่าย) | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
ท้าวประดู่ได้ฟังชังน้ำหน้า | |||
น้อยฤๅอีขี้เค้าเจ้าน้ำตา | |||
ยังจะร่ำไรว่ากวนใจกู | |||
เมินเสียเถิดหวาอีหน้ารุ้ง | |||
อย่าพูดอยู่ข้างมุ้งรำคาญหู | |||
ไสหัวมึงออกนอกประตู | |||
ขืนอยู่ช้าไปได้เล่นกัน | |||
ว่าพลางปิดบานทวารโผง | |||
เข้าในห้องท้องพระโรงขมีขมัน | |||
ยกหม้อตุ้งก่าออกมาพลัน | |||
พระทรงศักดิ์ชักควันโขมงไป ฯ ๖ คำ ฯ | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
นางประแดะทุกข์ร้อนถอนใจใหญ่ | |||
แล้วข่มขืนกลืนกลั้นชลนัยน์ | |||
จะอยู่ไปไยเล่าไม่เข้าการ | |||
แต่ทุบตีมิหนำแล้วซ้ำขับ | |||
ให้อายอับเพื่อนรั้วหัวบ้าน | |||
เช้าค่ำร่ำว่าด่าประจาน | |||
ใครจะทานทนได้ในฝีมือ | |||
กูจะหาผัวใหม่ให้ได้ดี | |||
เอาโยคีกินไฟไม่ได้ฤๅ | |||
ไหนไหนชาวเมืองก็เลื่องฦๅ | |||
อึงอื้ออับอายขายพักตรา | |||
คว้าถุงเบี้ยได้ใส่กระจาด | |||
ฉวยผ้าแพรขาดขึ้นพาดบ่า | |||
ลงจากบันไดไคลคลา | |||
น้ำตาคลอคลอจรลี ฯ ๘ คำฯ ทยอย | |||
(โอ้ร่าย) | |||
๏ ครั้นมาพ้นคอกวัวรั้วตราง | |||
เหลียวหลังดูปรางค์ปราสาทศรี | |||
เคยได้ค้างกายมาหลายปี | |||
ครั้งนี้ตกยากจะจากไป | |||
หยุดยืนสะอื้นอยู่อืดอืด | |||
เดือนก็มืดเต็มทีไม่มีไต้ | |||
ฝนตกพรำพรำทำอย่างไร | |||
ก็หยุดยืนร้องไห้อยู่ที่ร้าน ฯ๔ คำ ฯ โอด | |||
(ช้า) | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
โฉมระเด่นลันไดใจหาญ | |||
ครั้นพลบค่ำเข็นบันไดไว้นอกชาน | |||
ยกเชิงกรานสุมไฟใส่ฟืนตอง | |||
แล้วเอนองค์ลงเหนือเสื่อกระจูด | |||
นอนนิ่งกลิ้งทูดอยู่ในห้อง | |||
เสนาะเสียงสำเนียงพิราบร้อง | |||
ครางกระหึมครึ้มก้องบนกบทู | |||
แว่วแว่วเค้าแมวในกลีบเมฆ | |||
ดูวิเวกลงหลังคาเที่ยวหาหนู | |||
พระเผยบัญชรแลชะแง้ดู | |||
ดาวเดือนรุบรู่ไม่เห็นตัว | |||
พระพายชายพัดอุตพิด | |||
พระทรงฤทธิ์เต็มกลั้นจนสั่นหัว | |||
หอมชื่นดอกอัญชันที่คันรั้ว | |||
ฟุ้งตลบอบทั่วทั้งวังใน ฯ ๘ คำ ฯ | |||
(ร่าย) | |||
๏ หวนรำลึกนึกถึงนางประแดะ | |||
ที่นัดแนะแต่เย็นเป็นไฉน | |||
ดึกแล้วแก้วตาเห็นช้าไป | |||
จะร้องไห้รำพึงถึงพี่ชาย | |||
จำจะไปให้ทันดังสัญญา | |||
ได้ย่องเบาเข้าหานางโฉมฉาย | |||
จึงอาบน้ำทาแป้งแต่งกาย | |||
สวมประคำดีควายสำหรับตัว | |||
แหงนดูฤกษ์บนฝนพยับ | |||
เดือนดับลับเมฆขมุกขมัว | |||
ลงบันไดเดินออกมานอกรั้ว | |||
โพกหัวกลัวอิฐคิดระอา | |||
หลายครั้งตั้งแต่มันทิ้งกู | |||
พระโฉมตรูเหลือบซ้ายแลขวา | |||
แล้วผาดแผลงสำแดงเดชา | |||
เดินมาตามตรอกซอกกำแพง ฯ ๘ คำ เชิด | |||
๏ ประเดี๋ยวหนึ่งก็ถึงคอกโคขัง | |||
จะเข้าได้ดอกกระมังยังไม่แจ้ง | |||
เห็นกองไฟใส่สุมอยู่แดงแดง | |||
แอบแฝงฟังอยู่ดูท่าทาง | |||
เห็นทีท้าวประดู่ผู้ผัว | |||
จะนอนเฝ้าวัวอยู่ข้างล่าง | |||
แต่โฉมศรีนิฤมลอยู่ปรางค์ | |||
กูจะขึ้นหานางทางล่องแมว | |||
จึงกลิ้งครกที่ใต้ถุนเข้าหนุนตีน | |||
พระโฉมฉายป่ายปีนอยู่แด่วแด่ว | |||
อกใจไม้ครูดขูดเป็นแนว | |||
จะเห็นรักบ้างแล้วฤๅแก้วตา | |||
พระประหวั่นพรั่นตัวกลัวจะตก | |||
ทำหนูกกเจาะเจาะเคาะข้าฝา | |||
ไฉนไม่คอยกันดังสัญญา | |||
อนิจจานอนได้ไม่คอยรับ ฯ ๘คำฯ | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
ท้าวประดู่สุริย์วงศ์โก้งโค้งหลับ | |||
พอประสาทสะเทือนไหวตกใจวับ | |||
ลุกขยับนิ่งฟังนั่งหลับตา | |||
คิดว่ามเหสีที่ถูกถอง | |||
แสบท้องหายโกรธเข้ามาหา | |||
ให้นึกสมเพชเวทนา | |||
สู้ทนทานด้านหน้ามาง้องอน | |||
จะขับหนีตีไล่ไม่ไปจาก | |||
อีร่วมเรือนเพื่อนยากมาแต่ก่อน | |||
แล้วคลี่ผ้าคลุมหัวล้มตัวนอน | |||
พระภูธรทำเฉยเลยหลับไป ฯ ๖ คำ ฯ | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
ลันไดล้วงสลักชักกลอนได้ | |||
เปิดประตูเยื้องย่องเข้าห้องใน | |||
เข้านั่งใกล้ในจิตคิดว่านาง | |||
สมพาสยักษ์ลักหลับขึ้นทับบน | |||
ท้าวประดู่เต็มทนอยู่ข้างล่าง | |||
พระสรวมสอดกอดไว้มิได้วาง | |||
ช้อนคางพลางจูบแล้วลูบคลำ ฯ ๔ คำฯ | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
ท้าวประดู่ผุดลุกขึ้นปลุกปล้ำ | |||
ตกใจเต็มทีว่าผีอำ | |||
ต่างคนต่างคลำกันวุ่นไป | |||
เอ๊ะจริตผิดแล้วมิใช่ผี | |||
จะว่าพระมเหสีก็มิใช่ | |||
ขนอกรกนักทักว่าใคร | |||
ตกใจฉวยตระบองร้องว่าคน | |||
ลันไดโดดโผนโดนประตู | |||
ท้าวประดู่ร้องโวยขโมยปล้น | |||
ตะโกนเรียกเสนาสามนต์ | |||
มันไม่มีสักคนก็จนใจ | |||
ระเด่นโดดโลดออกมานอกรั้ว | |||
ผิดตัวแล้วกูอยู่ไม่ได้ | |||
ก็ผาดแผลงสำแดงฤทธิไกร | |||
วิ่งไปตามกำลังไม่รั้งรอ ฯ ๘ คำ ฯ | |||
๏ หมาหมู่กูไล่ไม่มีขวัญ | |||
ปล่อยชันสามขาเหมือนม้าห้อ | |||
เต็มประดาหน้ามืดหืดขึ้นคอ | |||
ต้องหยุดยั้งรั้งรอมาตามทาง | |||
ถึงโดยจะไล่ก็ไม่ทัน | |||
ผิดนักสู้มันแต่ห่างห่าง | |||
พอแว่วสำเนียงเหมือนเสียงคราง | |||
อยู่ในร้านริมข้างหนทางจร | |||
เอ๊ะผีฤๅคนขนลุกซ่า | |||
พระหัตถ์คว้าฉวยอิฐได้สองก้อน | |||
หยักรั้งตั้งท่าจะราญรอน | |||
นี่หลอกหลอนเล่นข้าฤๅว่าไร | |||
ครั้นได้ยินเสียงชัดเป็นสตรี | |||
จะลองฤทธิ์สักทีหาหนีไม่ | |||
กำหมัดเยื้องย่องมองเข้าไป | |||
แก่สาวคราวไหนจะใคร่รู้ ฯ ๘ คำฯ | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
นางประแดะนั่งซุ่มคลุมหัวอยู่ | |||
สาละวนโศกาน้ำตาพรู | |||
เห็นคนย่องมองดูก็ตกใจ | |||
พอฟ้าแลบแปลบช่วงดวงพักตร์ | |||
เห็นระเด่นรู้จักก็จำได้ | |||
ทั้งสองข้างถอยทีดีใจ | |||
ทรามวัยกราบก้มบังคมคัล ฯ ๔ คำ ฯ | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
ระเด่นเห็นนางพลางรับขวัญ | |||
นั่งลงซักไซ้ไล่เลียงกัน | |||
ไฉนนั่นกัลยามาโศกี | |||
พี่หลงขึ้นไปหานิจจะเอ๋ย | |||
ไม่รู้เลยน้องแก้วแคล้วกับพี่ | |||
พี่ไปพบท้าวประดุ่ผู้สามี | |||
เกิดอึงมี่ตึงตังทั้งพารา | |||
มันจะกลับจับพี่เป็นผู้ร้าย | |||
จะฆ่าเสียให้ตายก็ขายหน้า | |||
เขาจะค่อนติฉินนินทา | |||
อดสูเทวาสุราลัย | |||
จะเอาเมียแล้วมิหนำซ้ำฆ่าผัว | |||
คิดกลัวบาปกรรมไม่ทำได้ | |||
พี่ขอถามสาวน้อยกลอยใจ | |||
เป็นไฉนกัลยามาโศกี ฯ ๘ คำฯ | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
นางประแดะดวงยี่หวามารศรี | |||
สะอื้นพลางทางทูลไปทันที | |||
ทั้งนี้เพราะกรรมได้ทำไว้ | |||
ครั้งนี้มิชั่วก็เหมือนชั่ว | |||
นางตีอกชกหัวและร้องไห้ | |||
ยังจะกลับมาเยาะนี่เพราะใคร | |||
ดูแต่หลังไหล่เถิดพ่อคุณ | |||
เขาขับหนีตีไล่ไสหัวส่ง | |||
เพราะพระองค์ทำความจึงวามวุ่น | |||
แต่รอดมาได้เห็นก็เป็นบุญ | |||
อย่าอยู่เลยพ่อคุณเขาตีตาย ฯ ๖ คำ ฯ | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
ลันไดได้ฟังนางโฉมฉาย | |||
เขม้นมองดูหลังยังไม่ลาย | |||
พระจูบซ้ายจูบขวาห้าหกที | |||
เอาพระหัตถ์ช้อนคางแล้วพลางปลอบ | |||
อยู่พะอืดพะออบเลยโฉมศรี | |||
จะละห้อยน้อยใจไปไยมี | |||
บุญพี่กับนางได้สร้างมา | |||
อันระตูฤๅจะคู่กับอนงค์ | |||
มิใช่วงศ์อสัญแดหวา | |||
โฉมเฉลาเจ้าเหมือนบุษบา | |||
จรกาฤๅจะควรกับนวลน้อง | |||
ถ้าเป็นระเด่นเหมือนเช่นพี่ | |||
จึงควรที่ร่วมภิรมย์ประสมสอง | |||
ตรัสพลางทางชวนนวลละออง | |||
เยื้องย่องนำพานางเดิน ฯ ๘ คำฯ เพลง | |||
๏ ครั้นถึงจึงขึ้นบนตำหนัก | |||
ตงหักกลัวจะตกงกเงิ่น | |||
ค่อยพยุงจูงนางย่างดำเนิน | |||
ชวนเชิญโฉมเฉลาเข้าที่นอน | |||
ลดองค์ลงเหนือไสยาสน์ | |||
พระยี่ภู่ปูลาดขาดสองท่อน | |||
แล้วจึงมีมธุรสสุนทร | |||
อ้อนวอนโฉมเฉลาให้เข้ามุ้ง ฯ ๔ คำ ฯ | |||
(โอ้โลม) | |||
๏ โฉมเอยโฉมเฉิด | |||
เอนหลังบ้างเถิดจวนจะรุ่ง | |||
เสียแรงพี่รักเจ้าเท่ากระบุง | |||
จะไปนั่งทนยุงอยู่ทำไม | |||
เชิญมาร่วมเรียงเคียงเขนย | |||
อย่าทุกข์เลยพี่จะหามาเลี้ยงให้ | |||
เรามั่งมีศรีสุขทุกข์อะไร | |||
เงินทองถมไปที่ในคลัง | |||
แต่ข้าวสารให้ทานพี่นี้ฤๅ | |||
ไม่พักซื่อได้ขายเสียหลายถัง | |||
ทั้งปลาแห้งปลาทูปูลัง | |||
เสบียงกรังมีมากไม่ยากจน | |||
ขี้คร้านขายนมวัวเหมือนผัวเจ้า | |||
พี่ได้เปล่าสารพัดไม่ขัดสน | |||
จงนั่งกินนอนกินสิ้นกังวล | |||
พี่จะขวนขวายหาเอามาเลี้ยง | |||
ว่าพลางทางตระโบมโลมเล้า | |||
อะไรเล่าฮึดฮัดเฝ้าฟัดเหวี่ยง | |||
อุแม่เอ๋ยมิได้เจ้าใกล้เคียง | |||
จะตกเตียงไปแล้วแก้วกลอยใจ ฯ ๑๐ คำ ฯ | |||
(ร่าย) | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
นางประแดะคลุ้มคลั่งผินหลังให้ | |||
ถอยถดขยดหนีภูวไนย | |||
นี่อะไรน่าเกลียดเบียดคะยิก | |||
ลูกผัวหัวท้ายเขาไม่ขาด | |||
ทำประมาทเปล่าเปล่าเฝ้าหยุกหยิก | |||
ปัดกรค้อนควักผลักพลิก | |||
อย่าจุกจิกกวนใจไม่สบาย | |||
อย่าพักอวดสมบัติพัสถาน | |||
ไม่ต้องการดอกจะสู้อยู่เป็นหม้าย | |||
หนีศึกปะเสือเบื่อจะตาย | |||
เฝ้ากอดก่ายไปได้ไม่ละวาง ฯ ๖ คำ ฯ | |||
(ชาตรี) | |||
๏ สุดเอยสุดลิ่ม | |||
เชิญผินหน้ามายิ้มกับพี่บ้าง | |||
เฝ้าถือโทษโกรธเกรี้ยวไปเจียวนาง | |||
ไม่เห็นอกพี่บ้างที่อย่างนั้น | |||
เหมือนน้ำอ้อยใกล้มดใครอดได้ | |||
พี่ก็ไม่มีคู่ตุนาหงัน | |||
ตั้งแต่นวดปวดท้องมาสองวัน | |||
ใครจะกลั้นอดทนพ้นกำลัง | |||
ทำไมกลับลูกผัวกลัวมันไย | |||
ผิดก็เสียสินไหมให้ห้าชั่ง | |||
จูบเชื่อเสียก็ได้แล้วไม่ฟัง | |||
ลูบหน้าลูบหลังนั่งแอบอิง | |||
น้อยฤๅนมแต่ละข้างช่างครัดเคร่ง | |||
ปลั่งเปล่งใจหายคล้ายกล้วยปิ้ง | |||
อุ้มขึ้นใส่ตักรักจริงจริง | |||
อย่าสะบิ้งสะบัดตัดไมตรี | |||
ยิ่งดิ้นยิ่งกอดสอดสัมผัส | |||
อุยหน่าอย่ากัดพระหัตถ์พี่ | |||
ปัดป้องว่องไวอยู่ในที | |||
จนล้มกลิ้งลงบนที่บรรทมใน | |||
อัศจรรย์ลั่นพิลึกกึกก้อง | |||
ฟ้าร้องครั่นครื้นดังปืนใหญ่ | |||
เกิดพายุโยนยวบสวบสาบไป | |||
หลังคาพาไลแทบเปิดเปิง | |||
ฝนตกห่าใหญ่ใส่ซู่ซู่ | |||
ท่วมคูท่วมหนองออกนองเจิ่ง | |||
คางคกขึ้นกระโดดโลดลองเชิง | |||
อึ่งอ่างเริงร่าร้องแล้วพองคอ | |||
นกกระจอกออกจากวิมานมะพร้าว | |||
ต้องฝนทนหนาวอยู่งอนหง่อ | |||
ขนคางหางปีกเปียกจนมอซอ | |||
ฝนก็พอขาดเม็ดเสร็จบันดาล ฯ ๑๖ คำ โลม | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
นางประแดะหูกลวงห่วงสงสาร | |||
ได้ร่วมรักชักเชยก็ชื่นบาน | |||
เยาวมาลย์หมอบเมียงเคียงกาย | |||
แล้วเชิญหม้อตุ้งก่าออกมาตั้ง | |||
นางนั่งเป่าชุดจุดถวาย | |||
ทรงศักดิ์ชักพลางทางยิ้มพราย | |||
โฉมฉายขวั้นอ้อยคอยแก้คอ | |||
ถูกเข้าสามจะหลิ่มยิ้มแหยะ | |||
นางประแดะสรวลสันต์กลั้นหัวร่อ | |||
พระโฉมยงทรงขับเพลงซอ | |||
ฉลองหอทรงธรรม์แล้วบรรทม ฯ ๖ คำ ฯ ตระ | |||
(ช้า) | |||
๏ มาจะกล่าวบทไป | |||
ถึงนางกระแอทวายขายขนม | |||
เจ้าเงินโปรดปรานพานอุดม | |||
นุ่งห่มผืนผ้าค่าบาทเฟื้อง | |||
ผูกดอกออกจากฟากเรือนนาย | |||
ลดเลี้ยวเที่ยวขายข้าวเหนียวเหลือง | |||
ตามตลาดเสาชิงช้ามาเนืองเนือง | |||
ปลดเปลื้องเฟื้องไพได้ทุกวัน | |||
กับโฉมยงองค์ระเด่นลันได | |||
รักใคร่กันอยู่ก่อนเคยผ่อนผัน | |||
เชื่อถือซื้อขายเป็นนิรันดร์ | |||
เว้นวันสองวันหมั่นไปมา น ๖ คำ ฯ | |||
(ร่าย) | |||
๏ วันเอยวันหนึ่ง | |||
คิดถึงลันไดจะไปหา | |||
นึ่งข้าเหนียวใส่กระจากยาตรา | |||
ตรงมาหาชู้คู่ชมเชย | |||
เที่ยวเตร็ดเตร่เร่ร้องแล้วท่องเที่ยว | |||
ซื้อข้าวเหนียวหน้ากุ้งกินแม่เอ๋ย | |||
ที่รู้จักทักถามกันตามเคย | |||
บ้างเยาะเย้ยหยอกยื้อซื้อหากัน | |||
พอเวลาตลาดวายสายแสง | |||
กระเดียดตระแกรงกรีดกรายผายผัน | |||
ทอดกรอ่อนคอจรจรัล | |||
มาปราสาทสุวรรณเจ้าลันได ฯ ๖ คำ ฯ เพลงช้า | |||
๏ ครั้นถึงจึงขึ้นบนนอกชาน | |||
เห็นทวารบานปิดคิดสงสัย | |||
ทั้งเสียงคนคุยกันอยู่ขั้นใน | |||
ทรามวัยแหวกช่องมองดู | |||
เห็นโฉมยงองค์ประแดะกับระเด่น | |||
คลี่ผ้าหาเล็นกันง่วนอยู่ | |||
โมโหมืดหน้าน้ำตาพลู | |||
ดังหัวหูจะแยกแตกทำลาย | |||
นี่เมียอ้ายประดู่อยู่หัวป้อม | |||
ไยจึงมายินยอมกันง่ายง่าย | |||
ทั้งสีจักรยักหล่มถ่มร้าย | |||
มันจะให้ฉิบหายขายตน | |||
ชิชะเจ้าระเด่นพึ่งเห็นฤทธิ์ | |||
แต่ผ้านุ่งยังไม่มิดจะปิดก้น | |||
จองหองสองเมียจะเสียคน | |||
คิดว่ายากจนเฝ้าปรนปรือ | |||
จึงแกล้งเรียกพลันเจ้าลันได | |||
ค่าข้าเหนียวสองไพไม่ให้ฤๅ | |||
ผ่อนผัดนัดหมายมาหลายมื้อ | |||
แม่จะยื้อให้อายขายหน้าเมีย ฯ ๑๐ คำ ฯ | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
โฉมระเด่นลันไดแรกได้เสีย | |||
กำลังนั่งเคล้าเฝ้าคลอเคลีย | |||
ชมโฉมโลมเมียอยู่ริมมุ้ง | |||
ยกบาทพาดเพลาเกาสีข้าง | |||
สัพยอกหยอกนางอย่างลิงถุง | |||
แล้วยื่นมือมาจี้เข้าที่พุง | |||
นางสะดุ้งดุกดิกพลิกตะแคง | |||
เขาจะนอนดีดีเฝ้าจี้ไช | |||
ช่างกระไรหน้าเป็นเอ็นแข็ง | |||
จะนิ่งอยู่สักประเดี๋ยวทำเรี่ยวแรง | |||
มาแหย่แย่งกวนใจไปทีเดียว | |||
พอระเด่นลันไดยินเสียงเรียกหา | |||
ก็รู้ว่าชู้เก่าเจ้าข้าวเหนียว | |||
จึงร้องว่าใครนั่นขันจริงเจียว | |||
จะมาเที่ยวจัณฑาลพาลเอาความ | |||
ค่าข้าเหนียวสองไพข้าให้แล้ว | |||
มาทำเสียงแจ้วแจ้วไม่เกรงขาม | |||
ไม่ได้ติดค้างมาอย่าวู่วาม | |||
ลุกลามสิ้นทีมีแต่อึง ฯ ๑๐ ฯ เจรจา | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
นางทวายยิ่งพิโรธโกรธขึ้ง | |||
ยืนกระทืบบนนอกชานอยู่ตึงตึง | |||
หึงหวงด่าว่าท้าทาย | |||
นี่แน่อ้ายสำเร็จเจ็ดตะคุก | |||
มาลืมคุณข้าวสุกเสียง่ายง่าย | |||
กูเชื่อหน้าคิดว่าลูกผู้ชาย | |||
จึงสู้ขายติดค้างยังไม่รับ | |||
ช่างโกหกพกลมประสมประสาน | |||
จะประจานเสียให้สมที่สับปลับ | |||
แต่เบี้ยติดสองไพยังไม่รับ | |||
กูสิ้นนับถือแล้วอ้ายลันได ฯ ๖ คำ ฯ | |||
๏ เมื่อนั้น | |||
ระเด่นตอบตามอัชญาสัย | |||
เขาขี้คร้านพูดจาอย่าหนักไป | |||
ข้ารู้ใจเจ้าดอกกัลยา | |||
เจ้าพิโรธโกรธขึ้งเพราะหึงหวง | |||
จึงจาบจ้วงล่วงเกินเป็นหนักหนา | |||
ข้าผิดแล้วกลอยใจได้เมตตา | |||
เชิญเข้ามาเคหาปรึกษากัน ฯ ๔ คำฯ | |||
บทละคอนเรื่อง ระเด่นลันได ตามฉบับเดิม ที่ได้เคยเห็นมาแต่ก่อน เรื่องนี้ต่อไป นางทวายเข้าไปในเรือน เกิดทะเละ กับ นางประแดะ นางทวายไล่ตีนางประแดะ ลอดล่องหนีไป แล้วระเด่นลันได โลมนางทวายเข้าห้อง เป็นหมดเรื่อง เพียงนั้น พอได้เล่มสมุดไทย ๑ หนังสือเรื่องนี้ มีผู้ชอบกันมาก มันบ่นกันว่า เสียดายที่จบเสีย จึงมีผู้อื่นแต่งต่อ คิดผูกเรื่องต่อไป ตามอำเภอใจอีกยืดยาว อย่างเช่นพิมพ์ขายในตลาด สำนวนไม่ถึงตอนต้น ด้วยผู้แต่ง ไม่มีความสามารถ ในวรรณคดี เหมือนพระมหามนตรี (ทรัพย์) ทั้งเรื่องที่ต่อ ก็ไม่เป็นเรื่องจริง ดังตอนต้น จึงได้ตัดเสีย ไม่พิมพ์ในสมุดเล่มนี้ คงพิมพ์ที่พระมหามนตรี (ทรัพย์) แต่ง มีฉบับในหอพระสมุด ฯ เพียงเท่านี้