นิทานอีสป

จาก ตู้หนังสือเรือนไทย

(ความแตกต่างระหว่างรุ่นปรับปรุง)
ข้ามไปที่: นำทาง, สืบค้น
(หน้าที่ถูกสร้างด้วย '== ข้อมูลเบื้องต้น == หมวดหมู่:วรรณคดีไทย [[หมวดหมู่…')
แถว 12: แถว 12:
===นิทานที่ ๖ เรื่องกากับนกยูง===
===นิทานที่ ๖ เรื่องกากับนกยูง===
-
กาตัวหนึ่งนึกอยากจะให้วิเศษยิ่งกว่าเพื่อนกาด้วยกัน จึงไปเที่ยวเก็บเอาขนหางและขนหงอนนกยูง ที่ร่วงหล่นอยู่ตามป่ามาแทรกแซมขนของตัว แล้วละฝูงกาไปทำเดินกรีดกรายและเล็มอยู่ข้างๆฝูงนกยูง เมื่อนกยูงเห็นจำได้ว่า ไม่ใช่พวกของตนก็ช่วยกันจิกตีขับไล่ให้อกไปเสียจากฝูง กาได้รับความเจ็บปวดเป็นอันมาก จะทนอยู่ต่อไปอีกมิได้ จึงบินหนีเล็ดลอดไปแอบถอนขนนกยูงทิ้งเสียในป่า แล้วกลับไปเข้าฝูงของตัวอย่างเดิม ฝ่ายเพื่อนกาที่เคยเห็นเพื่อนกาตัวนั้นติดขนนกยูง เมื่อได้เห็นกาเย่อหยิ่งตัวนั้น กลับคืนมาอยู่ในฝูงอีก ก็ช่วยกันจิกตีขับไล่ไม่ให้เข้าพวก แล้วกาตัวหนึ่งจึงร้องว่า “ถ้าเจ้าไม่ใฝ่สูงให้เกินศักดิ์และชาติกำเนิดของเจ้าแล้ว ไหนเลยเจ้าจะได้รับทั้งความลำบากจากผู้ที่สูงกว่าเจ้าและทั้งความเกลียดชังจากพวกเราผู้เสมอกับตัวเจ้า”  
+
: กาตัวหนึ่งนึกอยากจะให้วิเศษยิ่งกว่าเพื่อนกาด้วยกัน จึงไปเที่ยวเก็บเอาขนหางและขนหงอนนกยูง ที่ร่วงหล่นอยู่ตามป่ามาแทรกแซมขนของตัว แล้วละฝูงกาไปทำเดินกรีดกรายและเล็มอยู่ข้างๆฝูงนกยูง     เมื่อนกยูงเห็นจำได้ว่า ไม่ใช่พวกของตนก็ช่วยกันจิกตีขับไล่ให้อกไปเสียจากฝูง กาได้รับความเจ็บปวดเป็นอันมาก จะทนอยู่ต่อไปอีกมิได้ จึงบินหนีเล็ดลอดไปแอบถอนขนนกยูงทิ้งเสียในป่า แล้วกลับไปเข้าฝูงของตัวอย่างเดิม ฝ่ายเพื่อนกาที่เคยเห็นเพื่อนกาตัวนั้นติดขนนกยูง เมื่อได้เห็นกาเย่อหยิ่งตัวนั้น กลับคืนมาอยู่ในฝูงอีก ก็ช่วยกันจิกตีขับไล่ไม่ให้เข้าพวก แล้วกาตัวหนึ่งจึงร้องว่า “ถ้าเจ้าไม่ใฝ่สูงให้เกินศักดิ์และชาติกำเนิดของเจ้าแล้ว ไหนเลยเจ้าจะได้รับทั้งความลำบากจากผู้ที่สูงกว่าเจ้าและทั้งความเกลียดชังจากพวกเราผู้เสมอกับตัวเจ้า”
-
เรื่องนี้สอนให้รู้ว่า การเย่อหยิ่งจองหองและอวดดี เป็นโทษไม่ว่าที่ไหน
+
 
 +
*เรื่องนี้สอนให้รู้ว่า การเย่อหยิ่งจองหองและอวดดี เป็นโทษไม่ว่าที่ไหน
===นิทานที่ ๗ เรื่องเด็กจับตั๊กแตน===
===นิทานที่ ๗ เรื่องเด็กจับตั๊กแตน===
-
เด็กคนหนึ่งเที่ยวจับตั๊กแตนเล่นอยู่ตามสนามหญ้าแต่เช้าเมื่อเวลาน้ำค้างยังไม่ทันแห้ง จับมาสักชั่วโมงเศษๆ ก็ได้ตั๊กแตนเป็นอันมาก ครั้นสายขึ้น แมงป่องตัวหนึ่งออกหากิน เด็กเห็นสำคัญว่าเป็นตั๊กแตน จึงเอื้อมมือออกไปจะจับ แมงป่องเห็นดังนั้นก็ขยายเหล็กในออกแล้วร้องว่า “เฮ้ยอย่าซุกซนเจ้าเด็กน้อย ถ้าถูกตัวข้าเข้า มิใช่เจ้าจะได้ตัวข้าเมื่อไร ถึงตั๊กแตนที่เจ้าได้ไว้มากแล้วนั้น ก็จะพลอยศูนย์ไปด้วย”
+
: เด็กคนหนึ่งเที่ยวจับตั๊กแตนเล่นอยู่ตามสนามหญ้าแต่เช้าเมื่อเวลาน้ำค้างยังไม่ทันแห้ง จับมาสักชั่วโมงเศษๆ ก็ได้ตั๊กแตนเป็นอันมาก ครั้นสายขึ้น แมงป่องตัวหนึ่งออกหากิน เด็กเห็นสำคัญว่าเป็นตั๊กแตน จึงเอื้อมมือออกไปจะจับ แมงป่องเห็นดังนั้นก็ขยายเหล็กในออกแล้วร้องว่า “เฮ้ยอย่าซุกซนเจ้าเด็กน้อย ถ้าถูกตัวข้าเข้า มิใช่เจ้าจะได้ตัวข้าเมื่อไร ถึงตั๊กแตนที่เจ้าได้ไว้มากแล้วนั้น ก็จะพลอยศูนย์ไปด้วย”
 +
 
-
เรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ทำสิ่งใด อย่าได้ระรานนัก จงเห็นแก่หน้าผู้อื่นเขาบ้าง ถ้าระรานมากไป ก็อาจจะเสียประโยชน์
+
*เรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ทำสิ่งใด อย่าได้ระรานนัก จงเห็นแก่หน้าผู้อื่นเขาบ้าง ถ้าระรานมากไป ก็อาจจะเสียประโยชน์
===นิทานที่ ๘ เรื่องมดง่ามกับจักจั่น===
===นิทานที่ ๘ เรื่องมดง่ามกับจักจั่น===

การปรับปรุง เมื่อ 17:10, 18 กุมภาพันธ์ 2554

เนื้อหา

ข้อมูลเบื้องต้น

ผู้แต่ง: พระจรัสชวนะพันธ์ (สาตร์)

บทประพันธ์

นิทานที่ ๑ เรื่องราชสีห์กับหนู

นิทานที่ ๒ เรื่องพ่อกับลูก

นิทานที่ ๓ เรื่องลากับจิ้งหรีด

นิทานที่ ๔ เรื่องหมาจิ้งจอกกับนกกระสา

นิทานที่ ๕ เรื่องหมาจิ้งจอกกับแพะ

นิทานที่ ๖ เรื่องกากับนกยูง

กาตัวหนึ่งนึกอยากจะให้วิเศษยิ่งกว่าเพื่อนกาด้วยกัน จึงไปเที่ยวเก็บเอาขนหางและขนหงอนนกยูง ที่ร่วงหล่นอยู่ตามป่ามาแทรกแซมขนของตัว แล้วละฝูงกาไปทำเดินกรีดกรายและเล็มอยู่ข้างๆฝูงนกยูง เมื่อนกยูงเห็นจำได้ว่า ไม่ใช่พวกของตนก็ช่วยกันจิกตีขับไล่ให้อกไปเสียจากฝูง กาได้รับความเจ็บปวดเป็นอันมาก จะทนอยู่ต่อไปอีกมิได้ จึงบินหนีเล็ดลอดไปแอบถอนขนนกยูงทิ้งเสียในป่า แล้วกลับไปเข้าฝูงของตัวอย่างเดิม ฝ่ายเพื่อนกาที่เคยเห็นเพื่อนกาตัวนั้นติดขนนกยูง เมื่อได้เห็นกาเย่อหยิ่งตัวนั้น กลับคืนมาอยู่ในฝูงอีก ก็ช่วยกันจิกตีขับไล่ไม่ให้เข้าพวก แล้วกาตัวหนึ่งจึงร้องว่า “ถ้าเจ้าไม่ใฝ่สูงให้เกินศักดิ์และชาติกำเนิดของเจ้าแล้ว ไหนเลยเจ้าจะได้รับทั้งความลำบากจากผู้ที่สูงกว่าเจ้าและทั้งความเกลียดชังจากพวกเราผู้เสมอกับตัวเจ้า”


  • เรื่องนี้สอนให้รู้ว่า การเย่อหยิ่งจองหองและอวดดี เป็นโทษไม่ว่าที่ไหน

นิทานที่ ๗ เรื่องเด็กจับตั๊กแตน

เด็กคนหนึ่งเที่ยวจับตั๊กแตนเล่นอยู่ตามสนามหญ้าแต่เช้าเมื่อเวลาน้ำค้างยังไม่ทันแห้ง จับมาสักชั่วโมงเศษๆ ก็ได้ตั๊กแตนเป็นอันมาก ครั้นสายขึ้น แมงป่องตัวหนึ่งออกหากิน เด็กเห็นสำคัญว่าเป็นตั๊กแตน จึงเอื้อมมือออกไปจะจับ แมงป่องเห็นดังนั้นก็ขยายเหล็กในออกแล้วร้องว่า “เฮ้ยอย่าซุกซนเจ้าเด็กน้อย ถ้าถูกตัวข้าเข้า มิใช่เจ้าจะได้ตัวข้าเมื่อไร ถึงตั๊กแตนที่เจ้าได้ไว้มากแล้วนั้น ก็จะพลอยศูนย์ไปด้วย”


  • เรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ทำสิ่งใด อย่าได้ระรานนัก จงเห็นแก่หน้าผู้อื่นเขาบ้าง ถ้าระรานมากไป ก็อาจจะเสียประโยชน์

นิทานที่ ๘ เรื่องมดง่ามกับจักจั่น

นิทานที่ ๙ เรื่องไก่กับพลอย

นิทานที่ ๑๐ เรื่องกระต่ายกับเต่า

นิทานที่ ๑๑ เรื่องเทวดากับคนขับเกวียน

เครื่องมือส่วนตัว