SILA
|
ความคิดเห็นที่ 15 เมื่อ 08 ก.พ. 18, 10:02
|
|
ส่วนโถงรอด้านในก่อนเข้าโรงฉาย เพดานประดับไฟคลับคล้ายกับเพดานด้านนอก
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
SILA
|
ความคิดเห็นที่ 16 เมื่อ 08 ก.พ. 18, 10:03
|
|
ในโรงโอ่โถงจุที่นั่งนับพัน แรกเริ่มไม่มีเวทีหน้าจอ,ต่อมาได้สร้างเสริมขึ้นทำให้สามารถรับงานแสดง และงานอีเวนท์เป็นรายได้เสริม
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
SILA
|
ความคิดเห็นที่ 17 เมื่อ 08 ก.พ. 18, 10:04
|
|
กลับออกมาจากโรง,โคมแชนเดอเลีย 5 ชั้นทรงหยดนํ้าค้างขนาดยักษ์น้ำหนัก 5 ตันจากอิตาลีห้อยหยาดระย้า (น่าเกรงขาม)อยู่เหนือบันไดใหญ่โตโอ่อ่า(สมนามสกาล่า - บันได) ที่ใช้เป็นทางขึ้นลงโรงหนัง
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
ninpaat
|
ความคิดเห็นที่ 18 เมื่อ 08 ก.พ. 18, 13:57
|
|
ก่อสร้างแล้วเสร็จเปิดโรงเมื่อธันวาคม พ.ศ. 2512 เบิกจอด้วยภาพยนตร์เรื่อง The Undefeated หรือชื่อไทยคือ ‘สองสิงห์ตะลุยสิบทิศ’
น่าจะใช่เรื่องนี้นะครับ ตอนดูก็ขอให้นึกว่า กำลังอยู่ใน โรงหนังสกาลา ส่วนจะอยู่กับใครก็แล้วแต่ DL ของแต่ละท่านครับ ; ;
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
SILA
|
ความคิดเห็นที่ 19 เมื่อ 08 ก.พ. 18, 15:42
|
|
แม่นแล้วคุณ ninpaat, ดูปู่จอห์น เวย์นในวัย 62 ควบม้าลิ่วด้วยความเป็นห่วง อีก 2 ปีต่อมา(2514) โรงหนังน้องใหม่ในเครือเดียวกันคือ อินทรา ประตูน้ำก็เลือกหนังของปู่ประเดิมจอ ด้วยเรื่อง Big Jake โรงแรมอินทรานี้ก็เป็นผลงานการออกแบบโดยสถาปนิกเดียวกัน(จิระ ศิลป์กนก) http://dodesignplanet.blogspot.com/2010/06/blog-post_13.html
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
SILA
|
ความคิดเห็นที่ 20 เมื่อ 09 ก.พ. 18, 09:38
|
|
ด้านหน้าอาคาร(facade) ทางเข้าไร้ประตูเปิดโล่งระหว่างเสาใต้ส่วนยื่นหน้าโรง(marquee)ที่
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
SILA
|
ความคิดเห็นที่ 21 เมื่อ 09 ก.พ. 18, 09:39
|
|
ติดตั้ง marquee sign แผงไฟกะพริบล้อมกรอบชื่อหนัง,นักแสดง,ผกก. เช่นโรงหนังทั่วไป
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
SILA
|
ความคิดเห็นที่ 22 เมื่อ 09 ก.พ. 18, 09:42
|
|
เหนือขึ้นไปเป็นกระจกสีเทาเล่นเส้นสายลายโค้งสีดำจรดหลังคา
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
SILA
|
ความคิดเห็นที่ 23 เมื่อ 09 ก.พ. 18, 09:56
|
|
นับเป็นผลงานการออกแบบสำคัญชิ้นหนึ่งในวงการสถาปนิกไทย และที่สำคัญ,ตัวอาคารจากอดีตจนปัจจุบัน ยังคงสภาพเดิมโดยมีการเปลี่ยนแปลงน้อยมากทั้งที่ผ่านวันเวลามาเกือบครึ่งศตวรรษ
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
SILA
|
ความคิดเห็นที่ 24 เมื่อ 12 ก.พ. 18, 10:03
|
|
คุณค่าของงานสถาปัตยกรรมที่ผ่านกาลดำรงคงอยู่ ทำให้โรงภาพยนตร์แห่งนี้เคยได้รับรางวัลอนุรักษ์ สถาปัตยกรรมดีเด่นปี 2555 จากสมาคมสถาปนิกในพระบรมราชูปถัมภ์
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
SILA
|
ความคิดเห็นที่ 25 เมื่อ 12 ก.พ. 18, 10:06
|
|
ด้วยความงามตาม"รูป"ลักษณ์ของอาคาร กอปร"นาม"ความรู้สึกรักชอบผูกพันอันเนื่องมาจากความหลัง ครั้งเคยได้มาเยือนมายลภาพยนตร์ที่นี่ตั้งแต่เล็กจนโต ย่อมทำให้หลายคนอดใจหายและเสียดายไม่ได้หากว่าโรงหนัง ที่มีคุณค่าทั้งด้านกายภาพและทางจิตใจนี้จะมีอันเป็นไป,ไม่ได้อยู่ต่อ
ในที่สุดก็ได้คำตอบซึ่งน่ายินดีในระดับหนึ่งตอนนี้ว่า สัญญาเช่าพื้นที่ได้หมดลงแล้วผู้เช่าต้องส่งคืนให้กับ CU Property และผู้บริหารเครือเอเพ็กซ์ได้ตัดสินใจคืนพื้นที่ทั้งลิโด้พร้อมสกาล่า(โดยที่สกาลานี้ทางจุฬาฯ ไม่ได้ ขอคืนและได้เจรจาให้อยู่ต่อแต่ผู้เช่ายืนยันที่จะเลิกประกอบกิจการทั้งสองโรง) ทางจุฬาฯ ไม่มีความคิดที่จะทุบโรง หนังสกาลาและจะพิจารณาเรื่องการใช้พื้นที่อาคารโรงหนัง(ทำอะไร,โดยใคร) ต่อไป จากนี้ ชาวรักษ์สกาลา รอลุ้นกันต่อว่าโรงหนังที่รักและผูกพันนี้จะเป็นอยู่คือต่อไปอย่างไร
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
SILA
|
ความคิดเห็นที่ 26 เมื่อ 14 ก.พ. 18, 10:05
|
|
จากรายงานฉบับที่ 2 ของกลุ่มอนุรักษ์สถาปัตยกรรมโมเดิร์นประเทศไทย DOCOMOMO (Documentation and Conservation of Buildings, Sites, and Neighbourhoods of the Modern Movement) THAILAND รวบรวมงานสถาปัตยกรรมของไทยซึ่งมีรากฐานอยู่ในช่วง เวลาประมาณพ.ศ. 2475-2514 และตกอยู่ในภาวะสุ่มเสี่ยงของการรื้อถอนทำลาย https://chantrabook.files.wordpress.com/2015/12/000289.pdf
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
SILA
|
ความคิดเห็นที่ 27 เมื่อ 14 ก.พ. 18, 10:06
|
|
'
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
SILA
|
ความคิดเห็นที่ 28 เมื่อ 14 ก.พ. 18, 10:07
|
|
และ
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
SILA
|
ความคิดเห็นที่ 29 เมื่อ 21 ก.พ. 18, 09:37
|
|
นำเสนอบทความน่าสนใจเรื่องโรงหนังไทยแต่แรกเริ่มในอดีตจนปัจจุบัน จาก ประวัติศาสตร์มักง่าย - ประวัติสั้นๆ ของโรงหนัง โดย ศิริพจน์ เหล่ามานะเจริญ คอลัมนิสท์,นักวิชาการด้านโบราณคดี จาก vogue.co.th - https://goo.gl/pJVnDF
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|