เรือนไทย
ยินดีต้อนรับ ท่านผู้มาเยือน
กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
ข่าว: การแนบไฟล์ กรุณาใช้ชื่อไฟล์ภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ
หน้า: [1] 2
  พิมพ์  
อ่าน: 6905 พาราไบค์ว่าด้วยขบวนพหยุหยาตราทางสถลมารคของกษัตริย์พม่า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


 เมื่อ 01 ก.พ. 18, 11:40

ภาพและเรื่องต่อไปนี้ผ่านเข้ามาในเฟซบุ๊คของผม ถ้าไปฉุดเอาไว้ก็คงจะหายไปในเวลาไม่ช้านาน จึงได้ขออนุญาตคุณ Lupt Utama เจ้าของโพสต์ ที่จะเผยแพร่ความรู้นี้และได้รับอนุญาตจากท่านมาเรียบร้อย

คุณ Lupt Utama เริ่มว่า
อยากถามท่านผู้รู้ด้านประวัติศาสตร์ สยามและพม่านะครับ ว่าภาพจากสมุดข่อยเนื้อขาวที่พม่าเรียกว่า parabaik (ပုရပိုက်) ที่เก็บไว้ที่มหาวิทยาลัยอ๊อกฟอร์ด ชิ้นนี้มีนัยยะสำคัญ หรือเรื่องราวน่าสนใจใดบ้างครับ ในเร็คคอร์ดกล่าวแค่ว่า สมุดข่อยเล่มนี้วาดขึ้นในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18 (1700-1800) กล่าวรวมๆถึงสมัยราชวงค์คองบอง (ကုန်းဘောင်ခေတ်)  ตั้งแต่สมัยพระเจ้าสเน่ห์มิน พระเจ้าทนินกันเว พระเจ้ามหาธรรมราชาธิบดี พระเจ้าอลองพญา พระเจ้ามังลอก พระเจ้ามังระ และต่ออีกหลายพระองค์ ใครสามารถอ่านภาพได้ ขอช่วยแบ่งปันความรู้หน่อยนะครับ

เชิญชมภาพครับ


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 1  เมื่อ 01 ก.พ. 18, 11:41

Thweep Ake Rittinaphakorn  คำอธิบายด้านขวา คือ "เซตวัน เซาวง์" (เซาวง์ = ห้อง / หอ / ตำหนัก / apartment) ในที่นี้น่าจะอธิบายถึงส่วนของตำหนักที่เชื่อมต่อจากท้องพระโรงกลางที่เป็นพระมหาปราสาท ที่เรียกว่า ปยา ตั๊ด เซาวง์ (ปยาตั๊ด = ปราสาท) (ด้านขวาสุดของภาพ) ทุกวันนี้คำว่า เซตวัน เซาวง์ ยังมีใช้หมายถึงส่วนของอาคารหลังใหญ่ที่อยู่ทางด้านหลังของวิหารทรงปราสาทในวัดพม่า

ด้านซ้ายสุดคือ "หม่าน นาน ด่อ" แปลเป็นไทยที่คุ้นเคยกันคือ หอแก้ว (Glass Royal Apartment) ในพระราชวังโบราณพม่า ที่นี่คือที่ประทับขององค์พระมหากษัตริย์
กำลังคิดว่าปาราไบ๊กต์เล่มนี้น่าจะวาดเป็นเรื่องของพระมหากษัริย์ทั่วไปนะครับ เช่นเสด็จพระราชพิธีโน่นนี่ ไม่ได้เฉพาะว่าวาดเป็นพระมหากษัตริย์องค์ไหนเฉพาะเจาะจง เพราะเท่าที่ Scan ตัวหนังสือพม่าดูเร็วๆ ทุกๆหน้าที่เห็นยังไม่เจอชื่อพระมหากษัตริย์นะครับ

อายุของปาราไบกต์พวกนี้น่าจะสมัยปลายโคงบาวง์แล้ว ไม่เก่าไปกว่าสมัยพระเจ้ามินดงนะครับ คิดว่า

Lupt Utama
ใช่ครับดูเสื้อผ้าที่วาดไว้พี่ก็รู้แค่นี้ว่าคงปลายคองบอง
บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 2  เมื่อ 01 ก.พ. 18, 11:41

.


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 3  เมื่อ 01 ก.พ. 18, 11:42

.


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 4  เมื่อ 01 ก.พ. 18, 11:42

.


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 5  เมื่อ 01 ก.พ. 18, 11:43

.


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 6  เมื่อ 01 ก.พ. 18, 11:43

.


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 7  เมื่อ 01 ก.พ. 18, 11:44

.


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 8  เมื่อ 01 ก.พ. 18, 11:44

.


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ

คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 9  เมื่อ 01 ก.พ. 18, 11:46

Sittiporn Netniyom เป็นสมุดว่าด้วยการจัดริ้วขบวนพระราชดำเนินทางสถลมารคของกษัตริย์พม่า ประกอบด้วยขบวนไพร่พลกองต่างๆ ตั้งแต่เสด็จออกถึงเสด็จกลับ เป็นภาพสมัยราชวงศ์คองบองตอนปลายนี่เองครับ แต่ที่อ้างกษัตริย์รัชกาลก่อนๆเป็นธรรมเนียมการอ้างตำราสืบทอดประเพณีกันมา พบได้ในทุกตำราราชสำนักพม่าครับ ผมเคยเขียนแปลเรื่องพระบรมศพกษัตริย์พม่า ก็จะอ้างอิงธรรมเนียมไปถึงตองอูยุคฟื้นฟู ส่วนเอกสารก็ต้นคองบอง
บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 10  เมื่อ 01 ก.พ. 18, 11:47

.


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 11  เมื่อ 01 ก.พ. 18, 11:48

Thweep Ake Rittinaphakorn หน้านี้อธิบายว่าคือ คณะละครและวงดุริยางค์โยดะยา (อยุธยา) รูปแบบดนตรีและนาฏศิลป์ของอยุธยาเป็นที่นิยมมากในราชสำนักโคงบาวง์ ดั้งนั้นจะมีวงดนตรีและคณะละครหลวงเฉพาะเลยที่เล่นในรูปแบบอย่างโยดะยา ครับ

Lupt Utama ตีความได้ไหมว่าสมุดข่อยเล่มนี้ ก่อนกรุงแตกหรือหลัง เพราะมีคณะละครเชลยศึกแล้ว

Thweep Ake Rittinaphakorn หลังกรุงแตกแล้วครับ

Lupt Utama งั้นก็แคบมาอีกหน่อยด้านตีความเวลา หลังพระเจ้าอลองพญา

Thweep Ake Rittinaphakorn หลังจากนั้นหลายปีครับ พระเจ้าอลองพญา เป็นปฐมกษตัริย์ของโคงบองที่ทำสงครามกับอยุธยา แต่เราเสียกรุงตอนนั้นเป็นสมัยของพระเจ้ามังระ (สิ่นผยู่ฉี่น) สไตล์ศิลปะและนาฏศิลป์อย่างโยดะยา รุ่งเรืองหลัง 1776 ครับ (อาจรู้จักกันมาก่อนแล้ว เพราะเชลยไทยเคยถูกกวาดต้อนไปก่อนบ้าง แต่ระลอกใหญ่ที่สุดคือหลังกรุงแตก)

Lupt Utama สมัยธนบุรีเหรอครับ ดีๆแคบขึ้นๆๆ

Thweep Ake Rittinaphakorn พี่ลุพธ์หมายถึงอายุของสมุดปาราไบกต์นี้หรือครับ ถ้าใช่ อายุสมุดนี่ก็น่าจะต้นรัชกาลที่ 5 หรือเก่าสุดก็น่าจะปลายรัชกาลที่ 4


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 12  เมื่อ 01 ก.พ. 18, 11:49

.


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 13  เมื่อ 01 ก.พ. 18, 11:49

.


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 14  เมื่อ 01 ก.พ. 18, 11:50

.


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
หน้า: [1] 2
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006, Simple Machines
Simple Audio Video Embedder

XHTML | CSS | Aero79 design by Bloc หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.052 วินาที กับ 19 คำสั่ง