เรือนไทย
ยินดีต้อนรับ ท่านผู้มาเยือน
กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
ข่าว: การแนบไฟล์ กรุณาใช้ชื่อไฟล์ภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ
หน้า: [1] 2
  พิมพ์  
อ่าน: 7785 สตรีในภาพ
qickmai
อสุรผัด
*
ตอบ: 2


 เมื่อ 28 ม.ค. 17, 23:20

สงสัยว่าสตรีในภาพมีพื้นเพมาจากที่ไหนน่ะค่ะ รู้แต่ว่างามมาก ได้ภาพมาจากกระทู้ภาพรวมใน pantip เขาว่าเป็นสาวพม่า เลยอยากทราบว่าเป็นการแต่งกายในยุคแบบใด หาที่ไหนก็ไม่พบข้อมูลเลยค่ะ
ขอบพระคุณสำหรับข้อมูลล่วงหน้าด้วยค่ะ





บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33585

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 1  เมื่อ 29 ม.ค. 17, 13:37

ไม่เคยเห็นค่ะ   ต้องถามท่านอื่นๆ
บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
********
ตอบ: 7165


หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง


ความคิดเห็นที่ 2  เมื่อ 30 ม.ค. 17, 07:40

สตรีชุดลายดอกนี้ก็คงเป็นนางแบบที่สตูดิโอจ้างมาถ่ายภาพมากกว่าครับ ทั้งนี้ภาพเหล่านี้อยู่ในยุคที่อังกฤษได้ยึดครองพม่าเรียบร้อยแล้ว มีการถ่ายภาพชาวพม่าในรูปแบบตา่งๆกัน จำนวนมากมาย

ดูจากการแต่งตัวแล้วด้านบนทัดดอกไม้ขนาดใหญ่ซึ่งเป็นธรรมเนียมการแต่งกายของพม่าในยุคนั้น แต่ไม่ใช่เชื้อพระวงศ์แน่นอนครับ

สำหรับภาพที่แนบมาให้ดูเป็นเชื้อพระวงศ์เพราะที่บนศีรษะจะประดับดอกไม้ในลักษณะนี้เท่านั้นครับ เป็นดอกคล้ายกล้วยไม้สีขาว เป็นดอกไม้ที่ใช้สำหรับพระราชวงศ์เท่านั้น


บันทึกการเข้า
เพ็ญชมพู
หนุมาน
********
ตอบ: 12601



ความคิดเห็นที่ 3  เมื่อ 30 ม.ค. 17, 07:48

สาวพม่าทัดดอกไม้อีกภาพหนึ่ง

คุณหนุ่มจำได้ไหมว่าใครเอ่ย  ยิงฟันยิ้ม


บันทึกการเข้า
Koratian
พาลี
****
ตอบ: 329


ความคิดเห็นที่ 4  เมื่อ 30 ม.ค. 17, 11:37

หาเพิ่มให้อีกรูป (สองรูป) ครับ




บันทึกการเข้า
Koratian
พาลี
****
ตอบ: 329


ความคิดเห็นที่ 5  เมื่อ 30 ม.ค. 17, 12:19


เด็กชายในภาพ บุตรชายของสตรีปริศนา คือคุณลุงท่านนี้ครับ น่าสนใจมาก



บันทึกการเข้า
tita
พาลี
****
ตอบ: 253


ความคิดเห็นที่ 6  เมื่อ 30 ม.ค. 17, 13:52


สตรีในภาพที่ 2 ของคุณ Koratian คือเจ้านางจันทร์แก้ว  ชายาเจ้าจายหลวงแห่งเชียงตุงค่ะ






บันทึกการเข้า
tita
พาลี
****
ตอบ: 253


ความคิดเห็นที่ 7  เมื่อ 30 ม.ค. 17, 14:01


เมื่อก่อนตอนเห็นรูปหญิงสาวเสื้อลาย  ก็เคยสงสัยเหมือนกันว่าคือเจ้านางจันทร์แก้วหรือเปล่า  แต่สังเกตว่ารูปหน้าจะต่างกัน  แล้วดูจริตการวางท่าถ่ายรูปก็ไม่น่าจะใช่เจ้านาย

ยิ่งรูปที่ 2 ของคุณ Qickmai  เหมือนการโพสท่าในสตูดิโออย่างคุณ Siamese ตั้งข้อสังเกต  มีผู้หญิงอื่นๆ มาประกอบฉากชีวิตหญิงสาวชาวพม่า  ถ้าเป็นเจ้านายจริงคนอื่นไม่น่ามายืนค้ำหัวได้
บันทึกการเข้า
tita
พาลี
****
ตอบ: 253


ความคิดเห็นที่ 8  เมื่อ 30 ม.ค. 17, 14:08


เจ้าจายหลวงเป็นโอรสเจ้ากองไท (เจ้าฟ้าเชียงตุงต่อจากเจ้ารัตนะก้อนแก้วอินแถลง พระราชบิดา  และภายหลังถูกลอบสังหาร) กับเจ้านางจ่ายุนท์

เจ้าจายหลวงเสกสมรสกับเจ้านางจันทร์แก้ว  มีธิดาและโอรสคือเจ้านางธานีกับเจ้าอู่หลวง  (ตามภาพของคุณ Koratian)
บันทึกการเข้า
tita
พาลี
****
ตอบ: 253


ความคิดเห็นที่ 9  เมื่อ 30 ม.ค. 17, 14:26


รูปนี้บรรยายว่า Burmese woman  สังเกตดูเสื้อลายคล้ายๆ กันน่ะค่ะ  ผ้าถุงก็มีแถบข้างหน้าเหมือนกัน  


บันทึกการเข้า
Koratian
พาลี
****
ตอบ: 329


ความคิดเห็นที่ 10  เมื่อ 30 ม.ค. 17, 15:35


ลองช่วยกันหาต่อนะครับ  (1) Philip Adolphe Kiler (2) Beato, Felice



คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
Koratian
พาลี
****
ตอบ: 329


ความคิดเห็นที่ 11  เมื่อ 30 ม.ค. 17, 15:44


Photograph of a Burmese lady, taken by Felice Beato in c.1890. The photograph is credited to Beato on the basis of the studio backdrop, which occurs in several of his photographs. This is a full-length studio portrait, showing the woman posed against a painted woodland scene and holding a long cheroot in her left hand. She wears a striped silk hta-mein (wrap-around skirt) with a wide dark waistband and a close-fitting jacket of fine muslin or cotton known as an ein-gyi over a bodice with a floral design. In her hair she wears a jewelled headband and she is adorned with necklaces, earrings, bracelets and rings. During the Konbaung Dynasty (1752-1885), rich jewellery, fine fabrics such as silk and garments such as her jacket were reserved for court officials and their wives by sumptuary laws. After the fall of the Burmese monarchy they were worn by the wealthy. European writers noted the relative freedom, grace and confidence of Burmese women. The photograph is from an album devoted almost entirely to Lord Elgin's Burma tour of November to December 1898. Victor Alexander Bruce (1849-1917), ninth Earl of Elgin and 13th Earl of Kincardine, served as Viceroy of India between 1894 and 1899. Another photograph in the album (print 38) is a portrait of the woman with a little girl, presumably her daughter.

เดี๋ยวตามไปดู print 38 ครับ


บันทึกการเข้า
Koratian
พาลี
****
ตอบ: 329


ความคิดเห็นที่ 12  เมื่อ 30 ม.ค. 17, 15:55


Print 38


บันทึกการเข้า
Koratian
พาลี
****
ตอบ: 329


ความคิดเห็นที่ 13  เมื่อ 30 ม.ค. 17, 16:01


The daughter of "Burmese Lady".




บันทึกการเข้า
Koratian
พาลี
****
ตอบ: 329


ความคิดเห็นที่ 14  เมื่อ 30 ม.ค. 17, 16:07


อีกรูปที่แสดงว่า "Burmese lady" ท่านนี้ น่าจะเป็นลูกค้ามากกว่านางแบบธรรมดา




บันทึกการเข้า
หน้า: [1] 2
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006, Simple Machines
Simple Audio Video Embedder

XHTML | CSS | Aero79 design by Bloc หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.054 วินาที กับ 19 คำสั่ง