NAVARAT.C
|
ความคิดเห็นที่ 30 เมื่อ 13 มี.ค. 15, 19:24
|
|
เอาครับ หยุดรอให้แย้ง
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
NAVARAT.C
|
ความคิดเห็นที่ 31 เมื่อ 13 มี.ค. 15, 20:48
|
|
ไม่ต้องแย้งแล้ว
ผมพบพลับพลาสูงจนได้ ไม่ใช่พระที่นั่งคชกรรมประเวศที่เข้าใจตั้งแต่ต้น
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
NAVARAT.C
|
ความคิดเห็นที่ 32 เมื่อ 13 มี.ค. 15, 20:50
|
|
ภาพพลับพลาสูง และภาพปริศนา
สิ้นสงสัยว่าจะเป็นอาคารเดียวกันหรือไม่
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
NAVARAT.C
|
ความคิดเห็นที่ 33 เมื่อ 13 มี.ค. 15, 21:07
|
|
น่าจะเป็นเช่นนี้
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
siamese
|
ความคิดเห็นที่ 34 เมื่อ 13 มี.ค. 15, 21:24
|
|
ใจตรงกัน  แนบภาพลักษณะเดียวกัน 
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
NAVARAT.C
|
ความคิดเห็นที่ 35 เมื่อ 13 มี.ค. 15, 21:34
|
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
siamese
|
ความคิดเห็นที่ 36 เมื่อ 13 มี.ค. 15, 21:37
|
|
คงจะนอนหลับฝันดีแล้วนะครับ 
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
NAVARAT.C
|
ความคิดเห็นที่ 37 เมื่อ 15 มี.ค. 15, 07:05
|
|
หลับและเลิกฝันไปแล้วจึงกลับมาหลอนใหม่ทั้งๆที่ตื่น
ตำแหน่งระทาในภาพกับถนนของคุณกับของผมสลับกันคนละข้าง ของผมนั้นพิจารณาจากราชรถที่กำลังถูกชักลากออกจากปริมณฑลท้องสนามหลวงไปยังถนนใหญ่ ถ้าเป็นอย่างของคุณ ราชรถจะถูกชักลากจากถนนไปยังสนาม(บริเวณที่เป็นศาลฎีกาในปัจจุบัน) และด้านซ้ายของภาพจะต้องติดราชวัตรของพระเมรุมาศเข้าให้บ้าง
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
NAVARAT.C
|
ความคิดเห็นที่ 38 เมื่อ 15 มี.ค. 15, 07:09
|
|
แม้ผิดหวังที่จะหาร่องรอยพระเมรุมาศพระมหาอุปราชพระองค์สุดท้ายของสยามเจอบ้าง แต่กระทู้นี้ก็ไม่น่าจะไร้ประโยชน์ อย่างน้อยเราก็ได้รู้จักระทา ซึ่งใช้เป็นหอสูงทำด้วยไม้ไฝ่ปล้องโตๆ สำหรับจุดไฟให้แสงสว่างในบริเวณที่จัดมหรสพในยุคที่ยังไม่มีไฟฟ้าใช้ นอกจากนั้น ระทายังใช้เป็นที่สำหรับจุดดอกไม้ไฟประเภทต่างๆเพื่อความครึกครื้นของงานอีกด้วย
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
NAVARAT.C
|
ความคิดเห็นที่ 39 เมื่อ 15 มี.ค. 15, 07:16
|
|
เพราะหน้าที่ดังว่า ระทาจึงไม่ใช่หอสูงที่ใช้กำหนดเขตปริมณฑลด้วยตามที่ผมเข้าใจก่อนหน้านี้ ระทาจะตั้งแถวอยู่เฉพาะแนวที่ปลูกโรงมหรสพ จะกี่แนวก็ได้ ซึ่งไม่ต้องขนานกับแนวใดๆของพระเมรุ
ในภาพเป็นพระเมรุมาศสมเด็จเจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์ (พ.ศ. ๒๔๓๐) แนวระทาอยู่ในเขตท้องสนามหลวงเช่นเดียวกับที่ผมเขียน แนวฝั่งตรงข้ามหน้าวัดมหาธาตุไม่มี
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
NAVARAT.C
|
ความคิดเห็นที่ 40 เมื่อ 15 มี.ค. 15, 07:49
|
|
พระเมรุมาศ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าศิริราชกกุธภัณฑ์ (นับแบบปัจจุบัน พ.ศ. ๒๔๓๑) จะไม่เห็นร่องรอยของระทาในตำแหน่งเดิมแล้ว
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
NAVARAT.C
|
ความคิดเห็นที่ 41 เมื่อ 15 มี.ค. 15, 07:58
|
|
แต่ปรากฏโคมไฟขึ้นมาแทน
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
NAVARAT.C
|
ความคิดเห็นที่ 42 เมื่อ 15 มี.ค. 15, 08:05
|
|
ภาพงานเดียวกันนี้ชัดเจนมากทีเดียว
โคมไฟแบบนี้ใช้แกสอะเซทิลีน มีหม้อหุงแกสโดยใช้ก้อนแคลเซี่ยมคาร์ไบด์ใส่ลงในน้ำให้ทำปฏิกิริยากัน เกิดเป็นแกสที่ติดไฟได้ ส่งไปตามท่อทองแดงยังจุดต่างๆแบบที่เห็นชัดในภาพ ถือเป็นนวัตกรรมใหม่ที่นำมาใช้ในงานพระเมรุ
ในภาพนี้เป็นไฟสนาม เสาไม้ธรรมดาๆไม่ได้เน้นความเนี๊ยบ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
NAVARAT.C
|
ความคิดเห็นที่ 43 เมื่อ 15 มี.ค. 15, 08:08
|
|
แต่บริเวณพระเมรุมาศ เป็นโคมและเสาเหล็กสั่งจากยุโรป
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
NAVARAT.C
|
ความคิดเห็นที่ 44 เมื่อ 15 มี.ค. 15, 08:15
|
|
อีกปีหนึ่งถัดมา นับแบบปัจจุบันก็ พ.ศ. ๒๔๓๒ เป็นพระเมรุมาศ สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้านภาจรจำรัสศรี ก็ไม่เห็นระทาเลย แต่ถ้าสังเกตุดีๆจะเห็นโคมไฟแบบใช้แกส
แนวติดขอบล่างจะเป็นแนวโรงมหรสพเหมือนครั้งก่อนๆ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|