ยินดีต้อนรับ
ท่านผู้มาเยือน
กรุณา
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
หน้าแรก
ตู้หนังสือ
ค้นหา
ข่าว
: การแนบไฟล์ กรุณาใช้ชื่อไฟล์ภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ
เรือนไทย
>
General Category
>
วิเสทนิยม
>
เหมายัน - วันที่กลางคืนยาวนานที่สุด - คนจีนกินอะไร
หน้า:
1
[
2
]
พิมพ์
อ่าน: 24644
เหมายัน - วันที่กลางคืนยาวนานที่สุด - คนจีนกินอะไร
เพ็ญชมพู
หนุมาน
ตอบ: 12547
ความคิดเห็นที่ 15
เมื่อ 21 ธ.ค. 20, 12:04
สุขสันต์วันเหมายัน & วันไหว้ขนมบัวลอย ๒๕๖๓
บันทึกการเข้า
นางมารน้อย
พาลี
ตอบ: 306
ทำงานแล้วค่ะ
ความคิดเห็นที่ 16
เมื่อ 21 ธ.ค. 20, 13:43
สอบถามคุณหานบิงว่าขนมบัวลอยแบบทางใต้นั้น ที่เมืองจีนมีการนำมารับประทานเป็นของหวานแบบไทยหรือไม่คะ
หรือเป็นของที่กินได้เฉพาะในพิธีเท่านั้น ไม่ได้มีขายทั่วๆไปแบบที่ไทย
ขอบคุณค่ะ
บันทึกการเข้า
สวัสดีทุกๆท่านค่ะ
เพ็ญชมพู
หนุมาน
ตอบ: 12547
ความคิดเห็นที่ 17
เมื่อ 21 ธ.ค. 21, 10:35
สุขสันต์วันเหมายัน & วันไหว้ขนมบัวลอย ๒๕๖๔
บันทึกการเข้า
CrazyHOrse
แขกเรือน
นิลพัท
ตอบ: 1897
ความคิดเห็นที่ 18
เมื่อ 21 ธ.ค. 21, 23:59
เทศกาลนี้จีนกลางเรียกว่า ตงจื้อ (冬至) 冬 แปลว่าฤดูหนาว 至 แปลว่ามาถึง หรือที่สุด ซึ่งในที่นี้ผมเข้าใจว่าหมายถึงที่สุดนี่แหละครับ รวมความแปลว่าที่สุดของฤดูหนาว ตรงกับ winter solstice ของฝรั่ง
ที่ว่าที่สุดของฤดูหนาวไม่ได้หมายถึงจุดจบของฤดูหนาว แต่หมายถึงการไปจนสุดเตรียมจะเริ่มพลิกกลับ เพราะวันนี้เป็นวันที่พระอาทิตย์เคลื่อนตัวลงใต้ไปที่สุด ในวันถัดมาพระอาทิตย์จะเริ่มขยับขึ้นเหนือไปทีละน้อยครับ
ส่วนจีนแต้จิ๋วจะเรียก ตังโจ่ย (โจ่ย ออกเสียงสั้น เขียนด้วยอักษรไทยไม่ได้ คือ สระ โอะ แต่มี ย เป็นตัวสะกดครับ) เขียนว่า 冬节 แปลง่ายกว่าว่า เทศกาลฤดูหนาว
ทางไทยเราบัญญัติเป็นภาษาแขกว่า เหมายัน ผมไม่ทราบว่าเป็นศัพท์บัญญัติในยุคไหนเหมือนกัน มาจาก เหม + อายัน แปลว่า การมาถึงของหิมะ หรือ solstice แห่งหิมะ
ส่วนทางอินเดียเองใช้ต่างจากเรา เขาใช้ว่า दक्षिण अयनांत ถอดเป็นแบบไทยๆว่า ทักษิณายนานตะ มาจาก ทักษิณ + อายนะ + อันตะ น่าจะแปลได้ว่า การมาถึงใต้สุด ซึ่งตรงกับนิยามปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ของ winter solstice เป๊ะ แต่จะเป็นคำเก่าหรือบัญญัติใหม่ก็ไม่ทราบเหมือนกันครับ
บันทึกการเข้า
"Postel's Law": "be conservative in what you do, be liberal in what you accept from others"
เพ็ญชมพู
หนุมาน
ตอบ: 12547
ความคิดเห็นที่ 19
เมื่อ 22 ธ.ค. 21, 09:07
อ้างจาก: CrazyHOrse ที่ 21 ธ.ค. 21, 23:59
เหมายัน มาจาก เหม + อายัน แปลว่า การมาถึงของหิมะ หรือ solstice แห่งหิมะ
เหม แผลงมาจาก หิม ซึ่งนอกจากหมายถึง ปุยน้ำแข็งสีขาวแล้ว อาจหมายถึง ฤดูหนาวได้ด้วย
บันทึกการเข้า
เพ็ญชมพู
หนุมาน
ตอบ: 12547
ความคิดเห็นที่ 20
เมื่อ 22 ธ.ค. 22, 09:35
สุขสันต์วันเหมายัน & วันไหว้ขนมบัวลอย ๒๕๖๕
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
ตอบ: 33424
ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม
ความคิดเห็นที่ 21
เมื่อ 22 ธ.ค. 22, 10:27
ส่งขนมมาไหว้ค่ะ
บันทึกการเข้า
หน้า:
1
[
2
]
พิมพ์
กระโดดไป:
เลือกกระทู้:
-----------------------------
General Category
-----------------------------
=> ศิลปะวัฒนธรรม
=> ภาษาวรรณคดี
=> ระเบียงกวี
=> ชั้นเรียนวรรณกรรม
=> หน้าต่างโลก
=> ประวัติศาสตร์โลก
=> ประวัติศาสตร์ไทย
=> ทันกระแส
=> วิเสทนิยม
=> ห้องหนังสือ
=> ชมรมอนุรักษ์ภาพจิตรกรรมไทย
Powered by SMF 1.1.21
|
SMF © 2006, Simple Machines
Simple Audio Video Embedder
XHTML
|
CSS
|
Aero79
design by
Bloc
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.033 วินาที กับ 19 คำสั่ง
Loading...