เรือนไทย
ยินดีต้อนรับ ท่านผู้มาเยือน
กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
ข่าว: การแนบไฟล์ กรุณาใช้ชื่อไฟล์ภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ
หน้า: 1 ... 27 28 [29] 30
  พิมพ์  
อ่าน: 159327 ไฮโซโบราณ(2)
Koratian
พาลี
****
ตอบ: 329


ความคิดเห็นที่ 420  เมื่อ 19 ก.ค. 20, 12:33

 ยิ้มกว้างๆ


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 421  เมื่อ 19 ก.ค. 20, 17:28

 ฮืม


บันทึกการเข้า
เพ็ญชมพู
หนุมาน
********
ตอบ: 12599



ความคิดเห็นที่ 422  เมื่อ 20 ก.ค. 20, 08:50

ผมเกล้าตามแบบราชสำนักฝ่ายเหนือ ซึ่งตรงกับแฟชั่นของยุโรป  ยิงฟันยิ้ม



บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 423  เมื่อ 20 ก.ค. 20, 10:16

ไม่ใช่ค่ะ คนละทรงกัน
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 424  เมื่อ 20 ก.ค. 20, 10:27

ทรงผมที่หวีเสย ไม่มีแสก  ยกสูงขึ้นจากหน้าผาก คือทรงญี่ปุ่น  นิยมกันในตอนปลายรัชกาลที่ 5 ถึงต้นรัชกาลที่ 6 ค่ะ
ถ้าผมไม่หนาพอ ก็ใช้ช้องผมหรือหมอนเล็กๆหนุนข้างใต้ แล้วใช้ขี้ผึ้ง(เหมือนเราใช้เจลในปัจจุบัน) หวีให้เรียบแข็งเป็นรูป อยู่ทรงได้ตลอดวัน   เวลานอนก็ต้องมีหมอนเล็กๆหนุนคอ  ไม่ให้ผมเสียรูป


บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 425  เมื่อ 20 ก.ค. 20, 10:32

ส่วนสตรีปริศนา แสกผมเหนือหน้าผากค่อนไปทางซ้าย  แบ่งผมเป็นสองส่วน  ม้วนผมมีช้องผมหรือหมอนเล็กๆ หนุนอยู่ข้างใต้ หวีผมทับให้โป่งขึ้นมาคล้ายมวยผมสองด้าน
เป็นทรงผมทันสมัยในรัชกาลที่  6 ค่ะ


บันทึกการเข้า
เพ็ญชมพู
หนุมาน
********
ตอบ: 12599



ความคิดเห็นที่ 426  เมื่อ 20 ก.ค. 20, 11:42




พระราชชายา เจ้าดารารัศมีได้เห็นทรงผมภริยาท่านทูตญี่ปุ่นที่ติดตามสามีเข้ามาในพระบรมมหาราชวัง จึงได้นำเอาทรงผมสตรีชาวญี่ปุ่นนั้นมาเป็นต้นแบบการเกล้าพระเกศาของพระองค์ท่าน และให้ข้าหลวงพระตำหนักของพระองค์ท่านทำทรงผมญี่ปุ่นนี้ทุกคน ในพระฉายาลักษณ์นี้พระเกศายาวของพระราชชายาฯ เกล้าขึ้นโดยใช้หมอนรอง โคนผมด้านหน้ายกสูงขึ้น เรียกว่าทรง ‘อี่ปุ่น’ ด้วยได้รับแบบแผนมาจากแดนอาทิตย์อุทัย

ต่อมาผมทรงนี้ได้รับความนิยมแพร่หลายในแวดวงสังคมชั้นสูงยุค Edwardian และแผ่อิทธิพลมาถึงราชสำนักไทยด้วย

จาก แพรว
บันทึกการเข้า
เพ็ญชมพู
หนุมาน
********
ตอบ: 12599



ความคิดเห็นที่ 427  เมื่อ 20 ก.ค. 20, 11:49

The defining hairstyle for Edwardian women was the pompadour. Named after the Marquise de Pompadour (Louis XV’s chief mistress in the mid-1700s), the Edwardian version is fuller than the Madame’s.

The pompadour shape is high, rounded and curved away from the head. A woman’s long hair would be backcombed and rolled to create the desired shape. Backcombing was also used to form a matted foundation over which the outer layer of hair was brushed.

To further shape and support the hair, it was drawn over a “rat” (a matted pad or roll of hair) or a pompadour wire frame.

A pompadour could be dressed in all manner of styles, therefore the hair could be straight or have a wave or curl to it. Hair could be simply swept up with a bun, or feature decorative elements like soft coils, chignons and fuzzy curled fringes.

จาก https://hair-and-makeup-artist.com/womens-edwardian-hairstyles/

(L to R): A smooth pompadour for everyday; A more elaborate do; The rounded silhouette of a pompadour


บันทึกการเข้า
เพ็ญชมพู
หนุมาน
********
ตอบ: 12599



ความคิดเห็นที่ 428  เมื่อ 20 ก.ค. 20, 12:58

ทรงผมของสตรีปริศนาน่าจะเป็นทรงฮิตในยุค Edwardian อีกแบบหนึ่ง  ยิงฟันยิ้ม


บันทึกการเข้า
เพ็ญชมพู
หนุมาน
********
ตอบ: 12599



ความคิดเห็นที่ 429  เมื่อ 20 ก.ค. 20, 18:29

ผมทรงญี่ปุ่นแบบพระราชชายา เจ้าดารารัศมี และ คุณหญิงบุญปั๋น ราชมนตรี ในภาษาญี่ปุ่นเรียกว่า โซะคุฮัทซึ (束髪) ซึ่งลอกแบบมาจากผมทรง Edwardian pompadour อีกทีหนึ่ง

ภาพถ่ายประมาณ พ.ศ. ๒๔๕๓ เด็กผู้หญิงทางขวาทำผมทรงญี่ปุ่นดั้งเดิม (traditional Japanese style, hana kanzashi) ส่วนคนทางซ้ายทำผมทรงจากตะวันตก (Western style pompadour, sokuhatsu)

จาก https://www.oldtokyo.com/changing-fashion-sokuhatsu-c-1910-2


บันทึกการเข้า
Koratian
พาลี
****
ตอบ: 329


ความคิดเห็นที่ 430  เมื่อ 20 ก.ค. 20, 19:00


ทั้งสามภาพ​ มีเก้าอี้ตัวเดียวกันครับ
:-)​
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 431  เมื่อ 20 ก.ค. 20, 20:32

ไม่ทันดูเก้าอี้  ขยิบตา

แสดงว่าถ่ายในสตูดิโอเดียวกัน
ในกรุงเทพ หรือเชียงใหม่?
บันทึกการเข้า
Jalito
องคต
*****
ตอบ: 478


ความคิดเห็นที่ 432  เมื่อ 20 ก.ค. 20, 21:31



  Robert Lenz สตูดิโอ ..ฮืม

  ที่ภาพครอบครัวกรมหลวงพิษณุโลกฯ มีเครดิตของสตูดิโอบันทึกอยู่
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 433  เมื่อ 20 ก.ค. 20, 21:43

ถ้าอย่างนั้นก็เป็นภาพถ่ายในกรุงเทพ
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 434  เมื่อ 26 ธ.ค. 21, 11:59

ได้คำตอบแล้วว่า ท่านคือคุณหญิงอนุชิตชาญชัย

ประวัติของคุณหญิงอนุชิตชาญชัย เท่าที่หามาได้คือ
คุณหญิงอนุชิตชาญชัย (อิง สวัสดิ์-ชูโต) เกิดเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2430  เป็นธิดาพระตำรวจเอก เจ้าพระยาราชศุภมิตร (อ๊อด ศุภมิตร) และนางทรัพย์
มีพี่ชาย คือ มหาเสวกตรี พระยาสมบัติบริหาร (เอื้อ ศุภมิตร) และน้องสาวชื่อวิมลา สมรสกับนายประจวบ บุรานนท์   และมีน้องชายร่วมมารดาอีกคนชื่อนายคาด สมัครไทย


บันทึกการเข้า
หน้า: 1 ... 27 28 [29] 30
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006, Simple Machines
Simple Audio Video Embedder

XHTML | CSS | Aero79 design by Bloc หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.118 วินาที กับ 20 คำสั่ง