เรือนไทย
ยินดีต้อนรับ ท่านผู้มาเยือน
กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
ข่าว: การแนบไฟล์ กรุณาใช้ชื่อไฟล์ภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ
หน้า: [1]
  พิมพ์  
อ่าน: 3319 เวิ้งนาครเขษม
patcharaporn
อสุรผัด
*
ตอบ: 4


 เมื่อ 28 ก.ย. 14, 15:26

ไฟล์ที่แนบมาเป็นแผนที่กรุงเทพ ร.ศ.115 อยากทราบว่าบริเวณที่วงกลมสีเหลืองไว้คือ แผนผังของอะไรอ่ะคะ
เห็นอยู่ในพื้นที่ของเวิ้งนาครเขษม

อีกเรื่องนึง คือ อยากทราบว่าโรงหนังปีระกา กับ โรงหนังนาครเขษม มันคือโรงหนังเดียวกันรึเปล่าคะ?

อยากรบกวนผู้รู้ให้มาตอบด้วยค่ะ พอดีต้องใช้ทำงานเกี่ยวกับประวัติพื้นที่บริเวณนี้


บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 1  เมื่อ 28 ก.ย. 14, 17:56

รอคุณ Siamese  นะคะ
บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
********
ตอบ: 7165


หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง


ความคิดเห็นที่ 2  เมื่อ 28 ก.ย. 14, 18:33

กลุ่มของสิ่งก่อสร้างนี้เป็นฉางข้าวหลวงครับ ซึ่งเป็นอาคารขนาดใหญ่ ในสมัยรัชกาลที่ ๔ ทรงโปรดเกล้าฯให้สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เข้ามาอาศัยอยู่บริเวณฉางข้าวหลวง

ซึ่งบริเวณตรงนี้ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ได้กลายเป็นตลาด ซึ่งเรียกันว่า "ตลาดสะพานหัน" โดยพระยาไชยสุรินทร์ (เจียม) ขอพระราชทานเช่าที่ทำตลาดซึ่งเป็นที่ฉางข้าวหลวงเก่า และทำสะพานปลาและสร้างห้องแถวให้เช่าครับ


บันทึกการเข้า
patcharaporn
อสุรผัด
*
ตอบ: 4


ความคิดเห็นที่ 3  เมื่อ 28 ก.ย. 14, 21:29

กลุ่มของสิ่งก่อสร้างนี้เป็นฉางข้าวหลวงครับ ซึ่งเป็นอาคารขนาดใหญ่ ในสมัยรัชกาลที่ ๔ ทรงโปรดเกล้าฯให้สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เข้ามาอาศัยอยู่บริเวณฉางข้าวหลวง

ซึ่งบริเวณตรงนี้ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ได้กลายเป็นตลาด ซึ่งเรียกันว่า "ตลาดสะพานหัน" โดยพระยาไชยสุรินทร์ (เจียม) ขอพระราชทานเช่าที่ทำตลาดซึ่งเป็นที่ฉางข้าวหลวงเก่า และทำสะพานปลาและสร้างห้องแถวให้เช่าครับ

แปลว่า ตลาดปีระกา ก็คือเกิดขึ้นต่อจากตลาดสะพานหันรึเปล่าคะ??
บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
********
ตอบ: 7165


หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง


ความคิดเห็นที่ 4  เมื่อ 29 ก.ย. 14, 07:10

กลุ่มของสิ่งก่อสร้างนี้เป็นฉางข้าวหลวงครับ ซึ่งเป็นอาคารขนาดใหญ่ ในสมัยรัชกาลที่ ๔ ทรงโปรดเกล้าฯให้สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เข้ามาอาศัยอยู่บริเวณฉางข้าวหลวง

ซึ่งบริเวณตรงนี้ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ได้กลายเป็นตลาด ซึ่งเรียกันว่า "ตลาดสะพานหัน" โดยพระยาไชยสุรินทร์ (เจียม) ขอพระราชทานเช่าที่ทำตลาดซึ่งเป็นที่ฉางข้าวหลวงเก่า และทำสะพานปลาและสร้างห้องแถวให้เช่าครับ

แปลว่า ตลาดปีระกา ก็คือเกิดขึ้นต่อจากตลาดสะพานหันรึเปล่าคะ??

ตลาดสะพานหัน (สมัยพระยาไชยสุรินทร์ทำตลาด) - - - ตลาดปีระกา (ปลายรัชกาลที่ ๕) - - - ตลาดสะพานหัน (ในแผนที่รัชกาลที่ ๖)
บันทึกการเข้า
patcharaporn
อสุรผัด
*
ตอบ: 4


ความคิดเห็นที่ 5  เมื่อ 29 ก.ย. 14, 23:37

เรื่องฉางข้าวหลวง สามารถหาอ่านได้จากที่ไหนบ้างอ่ะคะ??

แล้วแผนที่ที่คุณ siamese แนบมาให้ดู อยู่ในช่วง พ.ศ.อะไรอ่ะคะ
บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
********
ตอบ: 7165


หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง


ความคิดเห็นที่ 6  เมื่อ 30 ก.ย. 14, 09:57

ปีพุทธศักราช ๒๔๕๓ มีข่าวลงเรื่องไฟไหม้โรงหนังชื่อ "โรงหนังปีระกา" ครับ


บันทึกการเข้า
visitna
นิลพัท
*******
ตอบ: 1724


ความคิดเห็นที่ 7  เมื่อ 30 ก.ย. 14, 14:32

ผมเคยเก็บมาจาก หนังสือ ฝ่าทะเลนํ้าหมึกของ ลุงถาวร สุวรรณ
เรื่องที่มาของชื่อ ล้อต๊อก  โรงละคร  เวิ้งนาครเขษม  ยังมีอยู่หลังปี 2488



คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
patcharaporn
อสุรผัด
*
ตอบ: 4


ความคิดเห็นที่ 8  เมื่อ 30 ก.ย. 14, 22:41

ขอบคุณ คุณ siamese มากๆ เลยนะคะ ได้ความรู้เพิ่มเติมมากๆ เลย
รบกวนถามอีกเรื่องค่ะ ว่า แผนที่ที่แสดงฉางข้าวหลวง ที่คุณ siamese เอามาให้ดู มันเป็นแผนทีอะไร พ.ศ.อะไรเหรอคะ??
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006, Simple Machines
Simple Audio Video Embedder

XHTML | CSS | Aero79 design by Bloc หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.057 วินาที กับ 19 คำสั่ง