เรือนไทย
ยินดีต้อนรับ ท่านผู้มาเยือน
กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
ข่าว: การแนบไฟล์ กรุณาใช้ชื่อไฟล์ภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ
หน้า: 1 ... 92 93 [94] 95 96 ... 101
  พิมพ์  
อ่าน: 418951 รูปเก่าเล่าเรื่อง-เมืองบางกอก 10
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 1395  เมื่อ 18 มี.ค. 16, 19:04

ภาพ 1392-3  น่าจะราวพ.ศ. 2490

บ้านเรือนสมัยนั้นไม่ต้องมีรั้วหรือกำแพง
บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
********
ตอบ: 7165


หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง


ความคิดเห็นที่ 1396  เมื่อ 18 มี.ค. 16, 19:21

ส่องขยายแล้วเด็กน้อยยืนประมาณที่ทำตำแหน่งไว้
บันทึกการเข้า
Jalito
องคต
*****
ตอบ: 478


ความคิดเห็นที่ 1397  เมื่อ 18 มี.ค. 16, 23:00

บริเวณที่พี่น้องสองท่านยืนอยู่ น่าจะเป็นปากซอยลือชา
บันทึกการเข้า
visitna
นิลพัท
*******
ตอบ: 1724


ความคิดเห็นที่ 1398  เมื่อ 25 มี.ค. 16, 11:43

ไปอ่านหนังสือคอคิดขอเขียนของ อ สถิตย์ เสมานิล
ท่านเล่าเรื่องไปดูหนังฉายครั้งแรกของท่านในกรุงเทพ
ท่านเล่าว่าในปี 2456 ท่านไปดูหนังที่โรงหนังญี่ปุ่นหลวง
หรืออีกชื่อที่ท่านเรียกคือโรงหนังสะพานเหล็ก
ในสมัยนั้นมีโรงหนังแค่สามโรงคือ
1 โรงหนังญี่ปุ่นหลวงได้ตราอาร์มหลวง แขวนเหนือป้ายชื่อโรงหนัง
2 โรงหนังกรุงเทพ หรือโรงวังเจ้าปรีดา หน้าวังพระองค์เจ้าปรีดา
3 โรงหนังพัฒนากร

ส่วนโรงหนังที่สี่ที่สร้างคือ  โรงหนังปีระกา   สร้างปี รศ 129 หรือปี พศ 2453
โรงนี้อยู่ในเวิ้งนาครเขษม แต่ฉายได้วันเดียวหรืออาจจะไม่กี่วัน(เขาเล่า) ไฟไหม้หมด
เราคงจะหาภาพโรงหนังปีระกายากมาก

โรงหนังญี่ปุ่นหันหน้าไปทิศใต้ (ซ้าย)โรงหนังที่สร้างใหม่ต่อมาคือโรงเวิ้งนาครเขษมหันไปทางทิศเหนือ
ลักษณะพื้นที่สร้างอยู่ต่อติดกัน 

ภาพที่เห็นหลังคาสูงในเวิ้งน่าจะเป็นโรงเวิ้งนาครเขษม ที่หันหน้าไปทิศเหนือ(ขวามือ)


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
visitna
นิลพัท
*******
ตอบ: 1724


ความคิดเห็นที่ 1399  เมื่อ 25 มี.ค. 16, 11:47

ส่วนตำแหน่งโรงหนังปีระกา ต่อมาทำเป็นตลาดปีระกา หรือ ตลาดใหม่สะพานหัน
ตามที่เขียนในแผนที่ ฮืม


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ

คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
********
ตอบ: 7165


หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง


ความคิดเห็นที่ 1400  เมื่อ 25 มี.ค. 16, 13:36

เหตุการไฟไหม้ต้องถาม มิสเตอร์ ปี.มาซอล ที่ทำการตั้งฉายในพื้นที่กรมพระคลังข้างที่ริมวัดไชยชนะสงคราม เพลิงไหม้ทุ่มเศษ และดับสองทุ่มเศา ไฟไหม้โรงเรือนของบริษัทหนังรวม 5 หลัง 16 ห้อง


บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
********
ตอบ: 7165


หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง


ความคิดเห็นที่ 1401  เมื่อ 25 มี.ค. 16, 13:42

แนบแผนที่สำรวจ 2450 วางแนวโรงหนังญี่ปุ่นให้ชมครับ ทางเข้าหลักอยู่ด้านทิศใต้


บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
********
ตอบ: 7165


หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง


ความคิดเห็นที่ 1402  เมื่อ 25 มี.ค. 16, 14:41

ลองใส่ตำแหน่งโรงหนังคร่าวๆ ได้ดังนี้ครับ


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
visitna
นิลพัท
*******
ตอบ: 1724


ความคิดเห็นที่ 1403  เมื่อ 25 มี.ค. 16, 17:07

ภาพถนนเยาวราช มีอาคารหลังคาสูงมีคนสงสัยเรื่อยมาว่าคืออาคารอะไร(รวมทั้งผม)
บางคนว่าโรงหนังปีระกาบ้าง ว่าเป็นโรงอื่นบ้าง
ทำให้ผมพยายามหาข้อมูลตรงนี้
ไปเจอข้อเขียนอาจารย์สถิตย์ ที่ท่านเล่าพอเอามาตีความได้
ตามภาพที่อยู่ ตามตำแหน่งคงไม่ใช่

สรุปว่า ไม่ใช่โรงหนังปีระกาแน่เพราะโดนไฟไหม้ไปตั้งแต่ปีระกาแล้ว


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
visitna
นิลพัท
*******
ตอบ: 1724


ความคิดเห็นที่ 1404  เมื่อ 26 มี.ค. 16, 15:20

มีภาพอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ  อีกมุมที่เราเคยเห็นกัน
แต่ยังไม่มีใครบอกว่าถ่ายมาจากด้านไหน
สำหรับความคิดของผมเป็นอย่างในภาพ แต่ไม่มั่นใจร้อยเปอร์เซนต์
คิดว่าถ่ายในแนวถนนราชวิถี  --- รพ. ราชวิถีอยู่ขวามือ มองจากแยกตึกชัย


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ

คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
visitna
นิลพัท
*******
ตอบ: 1724


ความคิดเห็นที่ 1405  เมื่อ 26 มี.ค. 16, 15:50

ด้านถนนพญาไท


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
Jalito
องคต
*****
ตอบ: 478


ความคิดเห็นที่ 1406  เมื่อ 26 มี.ค. 16, 22:58

มีภาพอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ  อีกมุมที่เราเคยเห็นกัน
แต่ยังไม่มีใครบอกว่าถ่ายมาจากด้านไหน
สำหรับความคิดของผมเป็นอย่างในภาพ แต่ไม่มั่นใจร้อยเปอร์เซนต์
คิดว่าถ่ายในแนวถนนราชวิถี  --- รพ. ราชวิถีอยู่ขวามือ มองจากแยกตึกชัย
เห็นด้วยกับคุณvisitna เป็นหัวถนนราชวิถีด้านที่ไม่มีรถไฟฟ้าbtsอ้อมผ่าน ฝั่งซ้ายถนนคือฝั่งวัดมะกอก ฝั่งขวาคือโรงพยาบาลราชวิถี (เดิมชื่อโรงพยาบาลหญิง)
บันทึกการเข้า
visitna
นิลพัท
*******
ตอบ: 1724


ความคิดเห็นที่ 1407  เมื่อ 27 มี.ค. 16, 08:16

มีภาพอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ  อีกมุมที่เราเคยเห็นกัน
แต่ยังไม่มีใครบอกว่าถ่ายมาจากด้านไหน
สำหรับความคิดของผมเป็นอย่างในภาพ แต่ไม่มั่นใจร้อยเปอร์เซนต์
คิดว่าถ่ายในแนวถนนราชวิถี  --- รพ. ราชวิถีอยู่ขวามือ มองจากแยกตึกชัย
เห็นด้วยกับคุณvisitna เป็นหัวถนนราชวิถีด้านที่ไม่มีรถไฟฟ้าbtsอ้อมผ่าน ฝั่งซ้ายถนนคือฝั่งวัดมะกอก ฝั่งขวาคือโรงพยาบาลราชวิถี (เดิมชื่อโรงพยาบาลหญิง)
น่าจะถูกต้อง 
เหลือภาพด้านที่มาจากดินแดงเรายังไม่เคยเห็น
บันทึกการเข้า
visitna
นิลพัท
*******
ตอบ: 1724


ความคิดเห็นที่ 1408  เมื่อ 27 มี.ค. 16, 18:36

เรือนแพริมนํ้าเจ้าพระยา พศ 2414
น่าจะเป็นบริเวณปากคลองบางกอกใหญ่
เรือนแพหนาแน่นซ้อนกันสามสี่ชั้น
ชาวเรือนแพคงใช้นํ้าจากแม่นํ้าโดยตรง
ไม่มีโอ่งหรือการเก็บนํ้าฝนไว้บริโภค
การระบาดของโรคอหิวาต์จึงรวดเร็วเสียชีวิตกันมาก


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
visitna
นิลพัท
*******
ตอบ: 1724


ความคิดเห็นที่ 1409  เมื่อ 28 มี.ค. 16, 12:06

ถนนราชดำเนินกลางตลอดสายหลังสงครามโลก ครั้งที่สอง


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 ... 92 93 [94] 95 96 ... 101
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006, Simple Machines
Simple Audio Video Embedder

XHTML | CSS | Aero79 design by Bloc หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.042 วินาที กับ 19 คำสั่ง