เรือนไทย
ยินดีต้อนรับ ท่านผู้มาเยือน
กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
ข่าว: การแนบไฟล์ กรุณาใช้ชื่อไฟล์ภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ
หน้า: [1] 2 3 4
  พิมพ์  
อ่าน: 40913 บ้านโบราณ ( 2 )
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
 เมื่อ 11 พ.ย. 13, 14:05

ต่อจากกระทู้ บ้านโบราณ ค่ะ
http://www.reurnthai.com/index.php?topic=3447.0


บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 1  เมื่อ 11 พ.ย. 13, 14:28

บ้านหลวงประเทืองคดี  ตลาดวังกรด จ.พิจิตร
http://www.sadoodta.com/content/%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%A1-%E0%B8%95%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%94-%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B9%8C%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A3


บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 2  เมื่อ 11 พ.ย. 13, 14:30

 ยิ้มกว้างๆ


บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 3  เมื่อ 11 พ.ย. 13, 14:33

ท่านเป็นผู้ก่อตั้งตลาดวังกรด    ภายในบ้านยังอนุรักษ์เครื่องเรือนเดิมไว้ดี
จากเว็บหมูหินค่ะ


บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 4  เมื่อ 11 พ.ย. 13, 14:52

บ้านไม้โบราณที่ทุ่งสง  จ.นครศรีธรรมราช


บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 5  เมื่อ 11 พ.ย. 13, 14:53

บ้านโบราณของตระกูลยิบอินซอย ทุ่งสง


บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 6  เมื่อ 11 พ.ย. 13, 19:42

กุฏิที่วัดบุรณศิริมาตยาราม  ถนนอัษฎางค์ แขวงศาลเข้าพ่อเสือ เขตพระนคร


บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 7  เมื่อ 11 พ.ย. 13, 19:52

หมู่กุฏิขนมปังขิงของวัดสวนพลู    ได้รับรางวัลอนุรักษ์ดีเด่น มรดกสถาปัตยกรรมในประเทศไทยจากสมาคมสถาปนิกสยาม เมื่อปี พ.ศ.2545


บันทึกการเข้า
ลุงไก่
สุครีพ
******
ตอบ: 1281



ความคิดเห็นที่ 8  เมื่อ 11 พ.ย. 13, 22:30

ภาพแรกเป็นตึกแถวปากตรอกชุมชนหลังวัดราชนัดดา เป็นตรอกเล็กๆ หลังโรงเรียนวัดราชนัดดาครับ
ภาพที่สองอยู่ริมคลองหลอดวัดราชนัดดา หลังศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร เสาชิงช้าครับ
ส่วนบ้านขนมปังขิงที่เคยเป็นข่าวเมื่อสักสิบกว่าปีก่อนบริเวณนี้ ไม่ทราบว่าหายไปไหนแล้ว
อีกหลังหนึ่งเป็นบ้านไม้ทรงขนมปังขิงเก่ากว่าร้อยปี อยู่ถนนข้างโบสถ์พราหมณ์ เจ้าของคนใหม่เขาอนุรักษ์ไว้
ผ่านไปทางนั้นจะขออนุญาตเขาถ่ายภาพมาให้ชมครับ



บันทึกการเข้า
CVT
องคต
*****
ตอบ: 452


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 9  เมื่อ 12 พ.ย. 13, 09:27

โดนอาจารย์เทาชมพูต่อว่า ว่าไม่ค่อยเข้ามาช่วยตอบกระทู้
ผมไม่ค่อยมีความรู้ ยกเว้นที่เกี่ยวกับเมืองตานี
ก็ขอเอารูปบ้านจีนในเมืองแขกมาให้ชม
เป็นบ้านของหลวงสำเร็จกิจกรจางวาง(ตันเตียงซิ่น) ซึ่งเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๓



บันทึกการเข้า
mrpzone
มัจฉานุ
**
ตอบ: 89


ความคิดเห็นที่ 10  เมื่อ 12 พ.ย. 13, 11:40

มีบ้านโบราณในชุมชนตรอกบ้านจีน จ.ตาก (เครดิตบล็อก banjeen) ส่งเข้าประกวดครับ

ย่านนี้มีการค้าขายที่เคยเจริญรุ่งเรืองมากเมื่อครั้งอดีต ความเป็นมาเก่าแก่ย้อนกลับไปถึงสมัย ร.4 ซึ่งปัจจุบันตรอกบ้านจีนเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญแห่งหนึ่ง นักท่องเที่ยวมักแวะไปเที่ยวและไปรับประทานก๋วยเตี๋ยวกัน อร่อยมากครับ

ปากทางเข้าตรอกบ้านจีน เป็นถนน 5 แยก คนในพื้นที่เลยเรียกว่า ห้าแยกตรอกจีน  ยิงฟันยิ้ม


บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 11  เมื่อ 12 พ.ย. 13, 12:56

ขอบคุณอาจารย์หมอ CVT และคุณพีโซนค่ะ  บ้านสวยมากๆทั้งสองหลังเลย
บ้านไม้ที่เคยมีทั่วกรุงเทพในครึ่งศตวรรษก่อน หายไปเสียมากแล้ว    ที่เหลือก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของสลัม เก่าโทรมรอวันรื้อเป็นอาคารพาณิชย์     การซ่อมแซมทะนุบำรุงบ้านไม้เก่าแก่ให้อยู่ในสภาพดีสิ้นเปลืองเงินมากกว่าปลูกตึกใหม่เสียอีก      บ้านไม้สวยๆหลายหลังจึงกลายเป็นร้านอาหารบ้าง เป็นเกสต์เฮ้าส์หรือบูติคโฮเต็ลบ้าง    เพื่อให้คุ้มค่า


บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 12  เมื่อ 12 พ.ย. 13, 12:58

 ยิ้มกว้างๆ


บันทึกการเข้า
scarlet
ชมพูพาน
***
ตอบ: 155

โกหกเมียตายไปตกนรก แต่พูดความจริงตายทันที เลือกเอา


ความคิดเห็นที่ 13  เมื่อ 12 พ.ย. 13, 15:55

ขอบคุณอาจารย์หมอ CVT และคุณพีโซนค่ะ  บ้านสวยมากๆทั้งสองหลังเลย
บ้านไม้ที่เคยมีทั่วกรุงเทพในครึ่งศตวรรษก่อน หายไปเสียมากแล้ว    ที่เหลือก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของสลัม เก่าโทรมรอวันรื้อเป็นอาคารพาณิชย์     การซ่อมแซมทะนุบำรุงบ้านไม้เก่าแก่ให้อยู่ในสภาพดีสิ้นเปลืองเงินมากกว่าปลูกตึกใหม่เสียอีก      บ้านไม้สวยๆหลายหลังจึงกลายเป็นร้านอาหารบ้าง เป็นเกสต์เฮ้าส์หรือบูติคโฮเต็ลบ้าง    เพื่อให้คุ้มค่า

การรักษาไว้ให้เหมือนเดิม นอกจากต้องมีทุนทรัพย์ ยังต้องมีความผูกพัน ความหวงแหน มองเห็นคุณค่า มีรสนิยม มีเวลาดูแล รวมทั้งมีช่างซึ่งข้อหลัง ปัจจุบันแทบไม่เหลือ เนื่องจากภาวะทางเศรษฐกิจและสังคม บ้านไทยเป็นศิลปะเฉพาะตัวและมีความละเอียดประณีต ช่างรุ่นเก่าคงไม่มีอยู่ให้ว่าจ้าง ช่างรุ่นใหม่ก็คงสร้างทำแบบสมัยใหม่หรือไม่ก็ไปสร้างคอนโดมิเนียมกันหมด

ลักษณะบ้านโบราณอีกอย่างคือ ในบ้านมีบริเวณหรือสื่งแวดล้อมที่ดี คนอาศัยอยู่กับสิ่งแวดล้อมรอบข้าง แต่สิ่งแวดล้อมในปัจจุบันคือห้องตกแต่งไว้สวย มีรูปแบบ บ้านคือห้อง มีไว้เพื่อนอนหลังจากกลับมาจากโรงเรียน / ที่ทำงาน ตื่นจากนอนก็ออกไปเรียนหรือทำงาน เป็นวัฏจักร คนที่ยังได้อยู่ในบ้านแบบโบราณ นับว่าโชคดีเหลือหลาย
แต่อยู่บ้านโบราณ เดี๋ยวนี้ต้องมีที่จอดรถ และถนนเข้าไปจอด ออกจากโรงรถอีก

 
บันทึกการเข้า
CVT
องคต
*****
ตอบ: 452


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 14  เมื่อ 12 พ.ย. 13, 16:16

ขอบคุณอาจารย์หมอ CVT และคุณพีโซนค่ะ  บ้านสวยมากๆทั้งสองหลังเลย
บ้านไม้ที่เคยมีทั่วกรุงเทพในครึ่งศตวรรษก่อน หายไปเสียมากแล้ว    ที่เหลือก็กลายเป็นส่วนหนึ่งของสลัม เก่าโทรมรอวันรื้อเป็นอาคารพาณิชย์     การซ่อมแซมทะนุบำรุงบ้านไม้เก่าแก่ให้อยู่ในสภาพดีสิ้นเปลืองเงินมากกว่าปลูกตึกใหม่เสียอีก      บ้านไม้สวยๆหลายหลังจึงกลายเป็นร้านอาหารบ้าง เป็นเกสต์เฮ้าส์หรือบูติคโฮเต็ลบ้าง    เพื่อให้คุ้มค่า

การรักษาไว้ให้เหมือนเดิม นอกจากต้องมีทุนทรัพย์ ยังต้องมีความผูกพัน ความหวงแหน มองเห็นคุณค่า มีรสนิยม มีเวลาดูแล รวมทั้งมีช่างซึ่งข้อหลัง ปัจจุบันแทบไม่เหลือ เนื่องจากภาวะทางเศรษฐกิจและสังคม บ้านไทยเป็นศิลปะเฉพาะตัวและมีความละเอียดประณีต ช่างรุ่นเก่าคงไม่มีอยู่ให้ว่าจ้าง ช่างรุ่นใหม่ก็คงสร้างทำแบบสมัยใหม่หรือไม่ก็ไปสร้างคอนโดมิเนียมกันหมด

ลักษณะบ้านโบราณอีกอย่างคือ ในบ้านมีบริเวณหรือสื่งแวดล้อมที่ดี คนอาศัยอยู่กับสิ่งแวดล้อมรอบข้าง แต่สิ่งแวดล้อมในปัจจุบันคือห้องตกแต่งไว้สวย มีรูปแบบ บ้านคือห้อง มีไว้เพื่อนอนหลังจากกลับมาจากโรงเรียน / ที่ทำงาน ตื่นจากนอนก็ออกไปเรียนหรือทำงาน เป็นวัฏจักร คนที่ยังได้อยู่ในบ้านแบบโบราณ นับว่าโชคดีเหลือหลาย
แต่อยู่บ้านโบราณ เดี๋ยวนี้ต้องมีที่จอดรถ และถนนเข้าไปจอด ออกจากโรงรถอีก

 

โชคดีที่หลังนี้เป็นบ้านชั้นเดียว ย่านหัวตลาด หรือตลาดจีนเมืองตานี บ้านเก่าถูกแปรสภาพเป็นบ้านนกนางแอ่นเกือบหมดแล้วครับ

เช่นหลังนี้น่าเสียดาย เป็นตึกจีน ๒ ชั้นที่สวยงามมาก


บันทึกการเข้า
หน้า: [1] 2 3 4
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006, Simple Machines
Simple Audio Video Embedder

XHTML | CSS | Aero79 design by Bloc หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.05 วินาที กับ 19 คำสั่ง