ยินดีต้อนรับ
ท่านผู้มาเยือน
กรุณา
เข้าสู่ระบบ
หรือ
ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
หน้าแรก
ตู้หนังสือ
ค้นหา
ข่าว
: การแนบไฟล์ กรุณาใช้ชื่อไฟล์ภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ
เรือนไทย
>
General Category
>
ประวัติศาสตร์ไทย
>
บางกอกยุค60
หน้า:
1
...
3
4
[
5
]
6
7
8
พิมพ์
อ่าน: 42909
บางกอกยุค60
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
ตอบ: 33477
ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม
ความคิดเห็นที่ 60
เมื่อ 11 มิ.ย. 13, 17:18
ยุค 1960 มีแฟชั่นรองเท้าบู๊ตสูง นุ่งกับกระโปรงสั้น เป็นที่นิยมของนักร้องตามไนท์คลับ ยุค 1970 ไม่มีแล้ว
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
ตอบ: 33477
ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม
ความคิดเห็นที่ 61
เมื่อ 11 มิ.ย. 13, 18:28
คลิปนี้อาจเคยลงมาแล้ว แต่อยากลงอีก เพราะเห็นภาพกรุงเทพปี 1960 ชัดมาก
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
ตอบ: 33477
ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม
ความคิดเห็นที่ 62
เมื่อ 11 มิ.ย. 13, 18:29
บางกอก ปี 1964
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
ตอบ: 33477
ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม
ความคิดเห็นที่ 63
เมื่อ 11 มิ.ย. 13, 19:58
อาหารริมถนนในกรุงเทพ ยุค 1960s
บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
ตอบ: 7165
หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง
ความคิดเห็นที่ 64
เมื่อ 12 มิ.ย. 13, 16:04
ไมรู้ว่าอาเฮีย ขายอะไรยุค 1960
บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
ตอบ: 7165
หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง
ความคิดเห็นที่ 65
เมื่อ 12 มิ.ย. 13, 16:06
เป็นช่วงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระบรมราชินีนาถ เสด็จเยือนต่างประเทศอย่างเป็นทางการ
พระบรมฉายาลักษณ์ที่ประเทศอังกฤษ
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
ตอบ: 33477
ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม
ความคิดเห็นที่ 66
เมื่อ 12 มิ.ย. 13, 16:50
นักเรียนร.ร.เตรียมอุดมศึกษา ห้องคิง สายศิลป์ ในยุค 1960s
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
ตอบ: 33477
ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม
ความคิดเห็นที่ 67
เมื่อ 13 มิ.ย. 13, 11:37
พระบรมฉายาลักษณ์สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ในยุค 1960s
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
ตอบ: 33477
ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม
ความคิดเห็นที่ 68
เมื่อ 13 มิ.ย. 13, 13:15
1960s เป็นยุคสงครามเวียตนาม ในเมื่อไทยยอมให้อเมริกันมาตั้งฐานทัพที่อู่ตะเภา ใช้เมืองไทยเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจจากสงครามเวียตนาม ทหารฝรั่งจึงเข้ามาท่องเที่ยวกันอยู่หนาตาในกรุงเทพ มาถ่ายรูป ถ่ายหนังเก็บไว้ให้ดูกันได้อีกครั้งในยูทูป
ในช่วงต้น 1960 ถนนสายใหม่เพิ่งตัดจากประตูน้ำไปซอยเอกมัย สุขุมวิท ชื่อเพชรบุรีตัดใหม่เชื่อมกับเพชรบุรีสายเก่าที่ผ่านประตูน้ำมาจากยมราช เป็นถนนสายใหญ่ตัดเข้าไปกลางทุ่งนาเวิ้งว้าง สงครามเวียตนามทำให้มีตึกแถวอาคารพาณิชย์ผุดขึ้นเป็นดอกเห็ดสองข้างทาง เป็นแหล่งบันเทิงของคนกลางคืนโดยเฉพาะ มีบาร์ไนท์คลับตลอดสาย คำว่า"เมียเช่า" ก็เกิดขึ้นในยุค 1960s นี้เอง
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
ตอบ: 33477
ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม
ความคิดเห็นที่ 69
เมื่อ 13 มิ.ย. 13, 13:21
รถรางสายสุดท้ายในกรุงเทพ 1968
บันทึกการเข้า
เพ็ญชมพู
หนุมาน
ตอบ: 12564
ความคิดเห็นที่ 70
เมื่อ 13 มิ.ย. 13, 13:49
ประสบการณ์การขึ้นรถรางบางกอกยุค ๖๐
อ้างจาก: เพ็ญชมพู ที่ 18 ก.ย. 10, 09:01
อ้างจาก: เทาชมพู ที่ 17 ก.ย. 10, 22:21
ดิฉันเคยทันขึ้นรถราง จำได้ว่าแม่พาไปขึ้น บอกว่า "นั่งซะ อีกไม่นานเขาก็จะเลิกแล้ว"
รถรางไม่ค่อยมีคนขึ้นแล้วค่ะตอนนั้น นั่งสบายไม่แออัดยัดเยียด มีเบาะปูบนที่นั่งด้วย นั่งชมถนนไปเรื่อยๆ ไม่ร้อน คงเป็นเพราะลมโกรกเข้าได้ทั้งสองทาง
เคยขึ้นรถรางไปโรงเรียน ประสบการณ์คนละอย่างกับคุณเทาชมพู นั่งไม่ใคร่สบาย ลุกขึ้นมาที ต้นขาต้องบวมแดงไปหมดด้วยฤทธิ์ของตัวเรือดใต้ที่นั่ง
เป็นประสบการณ์ที่ไม่รู้ลืม
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
ตอบ: 33477
ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม
ความคิดเห็นที่ 71
เมื่อ 13 มิ.ย. 13, 13:58
^
กระทู้บอกอายุนะคะ คุณเพ็ญ ย้ำอยู่ได้
คุณเพ็ญไปร.ร. คงนุ่งกระโปรงสั้นมากละมัง เรือดถึงกัดต้นขาได้
ร.ร.ใกล้ปากคลองตลาดหรือเปล่าหนอ
บันทึกการเข้า
นางมารน้อย
พาลี
ตอบ: 306
ทำงานแล้วค่ะ
ความคิดเห็นที่ 72
เมื่อ 13 มิ.ย. 13, 13:59
อ้างจาก: เทาชมพู ที่ 11 มิ.ย. 13, 17:18
ยุค 1960 มีแฟชั่นรองเท้าบู๊ตสูง นุ่งกับกระโปรงสั้น เป็นที่นิยมของนักร้องตามไนท์คลับ ยุค 1970 ไม่มีแล้ว
แหม่.......สองสาวนี้เปรี้ยวจริงๆค่ะ มาถึงยุคนี้ กระแตก็กระแตเหอะ ชิดซ้ายตกขอบเวทีไปเลย หน้าตาเขาสวยน่ารักมากด้วย
บันทึกการเข้า
สวัสดีทุกๆท่านค่ะ
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
ตอบ: 33477
ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม
ความคิดเห็นที่ 73
เมื่อ 13 มิ.ย. 13, 14:06
ไปค้นรูปนักร้องดาวเต้นยุค 1960s มาให้ดูอีกค่ะ ว่าสมัยนั้นเปรี้ยวกันขนาดไหน
ดูรูปเพิ่มได้ที่เว็บนี้
http://beshowcase.com/site/web/m/casedetail.php?m=narathipchatree&cid=090728221655
คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
Jalito
องคต
ตอบ: 478
ความคิดเห็นที่ 74
เมื่อ 13 มิ.ย. 13, 23:11
อ้างจาก: เพ็ญชมพู ที่ 09 มิ.ย. 13, 15:47
สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล ถนนราชดำเนิน พ.ศ. ๒๕๐๑-๒๕๐๒ (ถูกเผาไปเมื่อเหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๖) ยังคงเห็นสามล้อถืบให้บริการ
http://img9.uploadhouse.com/fileuploads/17847/17847908662a17b0a8ce29b2ce7817fcd3257c9e.jpg
นอกจากอาคารกองสลาก สองฟากนนราชดำเนินกลาง(ที่เห็นเวลานั่งรถผ่านไปตลาดนัดสนามหลวง) ยังเป็นที่ตั้งของสำนักงานดังๆของเมืองกรุงอื่นๆ สำนักงานหนังสือพิมพ์สยามรัฐ สำนักงานใหญ่ธนาคารออมสิน วิทยุททท สำนักทนายความเทพศรีหริศ บริษัทธนบุรีพานิช(ขายเบ๊นซ์) ร้านอาหารศรแดง หัวถนนตั้งต้นที่โรงหนังศาลาเฉลิมไทย ไปสุดที่โรงแรมรัตนโกสินทร์ ฝั่งกองสลากมีศึกษาภัณฑ์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ สถาบันเกริกสอนภาษาอังกฤษ และอื่นๆอีกมากมาย รวมทั้งวิทยาศรม(ยาธาตุน้ำแดงตราคุณหมอปริญญา)ทีมีคูณหมอจิ๋ว บางซื่อ เป็นแพทย์ประจำ นอกจากคุณหมอแล้ว ชื่อนามสกุลในเซรี่ส์นี้ยังมีอีกสองท่าน จ๋อ บางซ่อน-นักเขียนพญาอินทรีจากใต้ถุนป่าคอนกรีต จ้อน บางกระสอ-เจ้าของเพลงน้ำตาแสงใต้ ที่ต้องจำใจข่มใจไปจากนวล
บันทึกการเข้า
หน้า:
1
...
3
4
[
5
]
6
7
8
พิมพ์
กระโดดไป:
เลือกกระทู้:
-----------------------------
General Category
-----------------------------
=> ศิลปะวัฒนธรรม
=> ภาษาวรรณคดี
=> ระเบียงกวี
=> ชั้นเรียนวรรณกรรม
=> หน้าต่างโลก
=> ประวัติศาสตร์โลก
=> ประวัติศาสตร์ไทย
=> ทันกระแส
=> วิเสทนิยม
=> ห้องหนังสือ
=> ชมรมอนุรักษ์ภาพจิตรกรรมไทย
Powered by SMF 1.1.21
|
SMF © 2006, Simple Machines
Simple Audio Video Embedder
XHTML
|
CSS
|
Aero79
design by
Bloc
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.037 วินาที กับ 19 คำสั่ง
Loading...