เรือนไทย
ยินดีต้อนรับ ท่านผู้มาเยือน
กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
ข่าว: การแนบไฟล์ กรุณาใช้ชื่อไฟล์ภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ
หน้า: [1]
  พิมพ์  
อ่าน: 7655 ขอถามว่าวัตถุนี้คืออะไรครับ
นอแรด
มัจฉานุ
**
ตอบ: 99


 เมื่อ 05 ต.ค. 12, 23:21


เห็นชาวบ้านขุดมาได้ แถวๆที่เขาขุดมีลูกปัด และพระพุทธรูปสมัยทวาราวดี  เข้าใจว่าเป็นสำริดครับ

บางคนว่าเป็นขวาน  แต่ผมดูแล้วไม่สมเหตุสมผล เพราะจะไปฟันอะไรได้ อันนิดเดียว



บันทึกการเข้า
jean1966
สุครีพ
******
ตอบ: 1256


ความคิดเห็นที่ 1  เมื่อ 06 ต.ค. 12, 00:48

ขวานสำริดน่าจะสมัยทวาราวดี พบหลายที่ในเมืองไทย(รูปของผมก็เป็นขวานสำริดประเภทหนึ่ง) ตอยยังไม่ผุก็คมครับ สภาพที่เห็นมันผุพังตามอายุนะครับ


บันทึกการเข้า
นอแรด
มัจฉานุ
**
ตอบ: 99


ความคิดเห็นที่ 2  เมื่อ 06 ต.ค. 12, 01:15


ขอบพระคุณครับท่าน jean  ที่ผมสงสัยคือมันอันกระจิ๊ดนึง ไม่ค่อยเหมือนขวานที่เราใช้ในปัจจุบัน

มันจะไปใช้ฟันอะไรได้ครับ เพราะว่าขวานจะต้องใหญ่มีน้ำหนัก

ถ้ามันเล็กขนาดนี้ สู้ใช้มีดไม่ดีกว่าหรือ ?

ในบริเวณใกล้เคียงที่ขุดได้ก็มี พวกเหล็กที่คล้ายเสียม แม้สนิมเขลอะ แต่ก็มีขนาดใหญ่กว่า และมีน้ำหนักมากกว่าเยอะครับ
บันทึกการเข้า
นอแรด
มัจฉานุ
**
ตอบ: 99


ความคิดเห็นที่ 3  เมื่อ 06 ต.ค. 12, 08:17

ไหนๆ ก็พูดถึงขวานแล้ว ผมไปเจอ ขวานเล่มหนึ่งที่แถว ที่มีทองคำ บางสะพาน ประจวบคีรีขันท์
 มีรูปร่างแปลก เล็กและเพรียวมาก ไม่ทราบว่าไว้ถากอะไร ที่ปลายยังมีความคมกริบ ลักษณะงานปราณีตไม่น่าจะทำในเมืองไทยครับ
แถวนั้นได้ข่าวว่ามีชาวต่างประเทศและญี่ปุ่น เข้ามาขุดทองกัน

ท่านใดพอจะรู้เรื่องหรือเคยเห็นขวานแบบนี้บ้างครับ





บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
********
ตอบ: 7165


หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง


ความคิดเห็นที่ 4  เมื่อ 06 ต.ค. 12, 08:20

^
เห็นรูไว้สำหรับใส่ด้ามไม้มีขนาดพอสมควร หน้าขวานเล็ก นึกถึงขวานเอาไว้สำหรับถากไม้ แต่งรูปร่างไม้เลยครับ
บันทึกการเข้า
นอแรด
มัจฉานุ
**
ตอบ: 99


ความคิดเห็นที่ 5  เมื่อ 06 ต.ค. 12, 08:40

ครับท่าน siamese ผมก็เดาว่าน่าจะเป็นขวาน แต่งไม้ เพราะว่าเห็นรูที่ว่าเหมือนรูสำหรับใส่ด้ามไม้ทั่วไป

เพียงแต่ว่าขวานนี้มันเล็กและเพรียวกว่าขวานทั่วไป

และเมื่อไปเทียบกับวัตถุสำริด สมัยทวาราวดี ที่ผมนำมาเปรียบข้างบนแล้ว

ที่อ้างเป็นขวานสำริด...มันไม่น่าจะเป็นขวานครับ


ปล. ขอแก้ไขเพิ่มเติม     ที่อ้างเป็นขวานสำริด.....มันไม่น่าเป็นขวานครับ
บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
********
ตอบ: 7165


หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง


ความคิดเห็นที่ 6  เมื่อ 06 ต.ค. 12, 08:45


ครับท่าน siamese ผมก็เดาว่าน่าจะเป็นขวาน แต่งไม้ เพราะว่าเห็นรูที่ว่าเหมือนรูสำหรับใส่ด้ามไม้ทั่วไป

เพียงแต่ว่าขวานนี้มันเล็กและเพรียวกว่าขวานทั่วไป

และเมื่อไปเทียบกับวัตถุสำริด สมัยทวาราวดี ที่ผมนำมาเปรียบข้างบนแล้ว มันไม่น่าจะเป็นขวานสำหรับถากไม้ครับ


ถ้าไม่ใช่วัตุทางงานช่าง ก็ต้องเป็นวัตถุสำหรับทางการเกษตร ไว้สับ เฉาะ
บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 7  เมื่อ 06 ต.ค. 12, 09:21

ผมนำภาพที่คุณนอแรดนำมาให้ดูไปเพิ่มแสง รูที่นึกว่ามีทางด้านข้างนั้นหายไป คือเป็นแค่เงา แสดงว่าเครื่องมือชนิดนี้ใช้ด้ามเสียบที่ก้น เข้าไปค้นต่อในเวปฝรั่ง พบที่คล้ายๆกัน บรรยายภาพว่าเป็นขวานครับ

In Thailand, bronze artifacts have been discovered dating back to 2100 BC. So far researchers have meticulously dug up rare artifacts that trace back to various periods of settlement, providing proof of the evolution of small self-contained agri-communities that possessed sophisticated tools and customs for the time.
Axe head in bronze (1049)
Axe heads were bronze tools and weapons that were used by the agricultural community. Pediform axes with an upturned tip and a socket for holding a wood handle could have been used as a farming tool as well as a weapon
.

แต่หัวมันมนๆเหมือนหัวค้อน ลองนึกภาพ ถ้าหาด้ามไม้ตรงที่มีกิ่งเหมาะๆ ตัดเอาตรงกิ่งเสียบกับหัว ตัวแขนงเป็นด้ามถือ ก็คงจะได้ค้อนที่แข็งแรง ไม่เปราะเหมือนหัวค้อนที่มีรูตรงกลาง (อย่าลืมว่าเทคโนโลยี่สมัยนั้น โลหะที่หล่อได้ไม่ได้แข็งแรงมากมาย)


บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
********
ตอบ: 7165


หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง


ความคิดเห็นที่ 8  เมื่อ 06 ต.ค. 12, 09:32

นำภาพมาให้ชมเป็นหน้าขวานขนาดเล็ก ที่คาดว่าถากไม้ได้ดีครับ

http://robswoodwork.blogspot.com/2012/05/holiday-holland-and-some-nice-tools.html

the first museum we visited was called Archeon located near Alphen aan den Rijn, Though calling it a museum is an understatement. It focuses on living history re-enactors recreating the living conditions of High Medieval, Roman, Iron Age, Bronze age, Neolithic, and further back. While all these areas were interesting with roman massages, neolithic bread on a stick, and medieval seal making the area that interested me the most was the bronze age. The re-enactor in that area had a wonderful collection of bronze axes in that just seemed too amazing not to look at. She asked me and the public to setup the axes in he chronological order, which i had correct. The two on the left being the earlier as they would work but the handles would eventually split. The two in the center were later and better designed to incorporate the strength of tree branches and having the axe head slotting into the head. This design must have given better results with fewer broken handles but again the wood would most likely spilt eventually. the axe on the far right was the latest design for bronze axes which incorporated the bronze head with a socket for the handle to attach too. This design would have been given the best longevity to the bronze axe and this design was even incorporated into the early iron axes of the iron age.


บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 9  เมื่อ 06 ต.ค. 12, 09:33

ที่ผมว่าเป็นค้อน ก็ประมาณนี้


บันทึกการเข้า
นอแรด
มัจฉานุ
**
ตอบ: 99


ความคิดเห็นที่ 10  เมื่อ 06 ต.ค. 12, 09:39


WOW สุดยอดเลยครับ ทั้งท่าน NAVARAT และ ท่าน SIAMESE  นับถือ! นับถือ!

ผมมาถูกห้องแล้ว ไชโย

บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 11  เมื่อ 06 ต.ค. 12, 10:00

ไชโย   ไชโย   ไชโย

โห่ ฮิ้โห่ ฮิโห่ ฮิโห่ .......โหยยยยยยย ย    ย
บันทึกการเข้า
Nithi Kanisthanon
อสุรผัด
*
ตอบ: 14


ความคิดเห็นที่ 12  เมื่อ 11 ต.ค. 12, 13:20

ลองไปถามที่ เวป คนรักมีด หมวดวัฒนธรรมและอาวุธโบราณดูนะครับ น่าจะได้ข้อมูลบ้าง
http://www.konrakmeed.com/webboard/upload/index.php?s=892018b03910e10f80eecb64159062e8&showforum=5
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006, Simple Machines
Simple Audio Video Embedder

XHTML | CSS | Aero79 design by Bloc หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.053 วินาที กับ 19 คำสั่ง