เรือนไทย
ยินดีต้อนรับ ท่านผู้มาเยือน
กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
ข่าว: การแนบไฟล์ กรุณาใช้ชื่อไฟล์ภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ
หน้า: 1 ... 5 6 [7] 8
  พิมพ์  
อ่าน: 36163 พาชมทำเนียบทูตไทย จุดกำเนิด"พลังรักสองแผ่นดิน"
เพ็ญชมพู
หนุมาน
********
ตอบ: 12600



ความคิดเห็นที่ 90  เมื่อ 18 ส.ค. 12, 18:08

เดินดูความสวยงามรอบนอกทำเนียบ


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ

บันทึกการเข้า
เพ็ญชมพู
หนุมาน
********
ตอบ: 12600



ความคิดเห็นที่ 91  เมื่อ 18 ส.ค. 12, 18:15

ความงามภายในทำเนียบท่านทูต  

มีรูปนางแบบแถมมาด้วย

 ยิงฟันยิ้ม



คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ

คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ

คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
เพ็ญชมพู
หนุมาน
********
ตอบ: 12600



ความคิดเห็นที่ 92  เมื่อ 18 ส.ค. 12, 18:26

ภาพคลื่นซัดฝั่งดังที่ให้ชมไปแล้วนั้น ฝีมือของคันจิ มาอีตะ(Kanji Maeta) ใช้สีน้ำมันเขียนขึ้นในราวพ.ศ. ๒๔๗๒ เป็นรูปของทะเลในจังหวัดชิบะยามมีพายุ ส่งเข้าประกวดได้รับรางวัลหลวง(Imperial Award) หลังจากนั้นไม่นานเขาก็ตายจากอาการป่วยที่เรื้อรัง ภาพที่เขียนขึ้นเป็นภาพสุดท้ายนี้ถือเป็นMasterpieceของเขาเลยทีเดียว

ทุกๆปีจะมีชมรมต่างๆ เช่นชมรมอนุรักษ์ศิลปะบ้าง ชมรมศิลปินบ้าง ขอจัดคณะมาชมงานชิ้นนี้เสมอปีละหลายคณะ ท่านทูตทั้งหลายก็ให้ภรรยารับรองกันไป ผมได้ยินว่าทางราชการเคยจ้างบริษัทประเมินมูลค่าทรัพย์สินมาประเมินทำเนียบและข้าวของต่างๆ งานชิ้นนี้ชิ้นเดียวก็ปาเข้าไปหลายสิบล้านบาทแล้ว

ภาพมูลค่าหลายสิบล้านอยู่ที่นี่เอง

 ยิงฟันยิ้ม


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
naitang
หนุมาน
********
ตอบ: 5823


ความคิดเห็นที่ 93  เมื่อ 18 ส.ค. 12, 21:46

กระทู้นี้มาในช่วงที่ผมไม่อยู่ ไปต่างจังหวัดพอดี กลัีบมาอ่านด้วยความรวดเร็ว  น่าสนใจมากครับ

เป็นความบังเอิญที่ผมเคยไปประจำการอยู่ในพื้นที่ของสถานทูตแห่งนี้  จึงพอจะมีเรื่องเล่าแซมได้บ้่าง แต่จะขอเป็นพรุ่งนี้นะครับ

 

บันทึกการเข้า
เพ็ญชมพู
หนุมาน
********
ตอบ: 12600



ความคิดเห็นที่ 94  เมื่อ 19 ส.ค. 12, 13:11

ภาพกิจกรรมที่สถานทูต ๑๖ สิงหาคม ปีที่แล้ว

นักเรียนญี่ปุ่นชั้นประถมศึกษาและผู้ปกครอง เข้าเยี่ยมชมทำเนียบท่านทูต


บันทึกการเข้า
เพ็ญชมพู
หนุมาน
********
ตอบ: 12600



ความคิดเห็นที่ 95  เมื่อ 19 ส.ค. 12, 13:16

รับประทานอาหารกลางวัน


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
เพ็ญชมพู
หนุมาน
********
ตอบ: 12600



ความคิดเห็นที่ 96  เมื่อ 19 ส.ค. 12, 13:17

การละเล่นแบบไทย ๆ


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
เพ็ญชมพู
หนุมาน
********
ตอบ: 12600



ความคิดเห็นที่ 97  เมื่อ 19 ส.ค. 12, 13:19

ถ่ายรูปร่วมกันเป็นที่ระลึก


บันทึกการเข้า
เพ็ญชมพู
หนุมาน
********
ตอบ: 12600



ความคิดเห็นที่ 98  เมื่อ 19 ส.ค. 12, 14:57

นักเรียนประถมและผู้ปกครองเข้าเยี่ยมชมปีที่สอง ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๕


บันทึกการเข้า
naitang
หนุมาน
********
ตอบ: 5823


ความคิดเห็นที่ 99  เมื่อ 19 ส.ค. 12, 20:32

คงจะเข้ามาแจมในเรื่องของวัตถุทางประวัติศาสตร์ชิ้นนี้ได้บ้างเล็กน้อยนะครับ รู้สึกเสียดายที่จำส่วนของหลายเรื่องราวจากการบอกเล่าของคนที่สนใจไม่ได้ทั้งหมด  คงจะเป็นเรื่องที่กระท่อนกระแท่นมากๆนะครับ  และก็คงจะเป็นเรื่องเล่าที่ไม่มีเอกสารอ้างอิง  แล้วก็จะขออนุญาตไม่อ้างถึงความเห็นทั้งหลายในกระทู้นี้ด้วยนะครับ
 
ทำเนียบเอกอัครราชทูตไทยในโตเกียวนี้ จัดได้ว่าเป็นวัตถุทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญที่คนญี่ปุ่นให้ความสนใจในหลายๆแง่มุมเลยทีเดียว 
สำหรับญี่ปุ่นนั้นมีทั้งประวัติศาสตร์ในส่วนที่ดีงามและไม่ดีงาม แต่ญี่ปุ่นก็ไม่เคยที่จะละทิ้งการบอกเล่า (สอนหรือบอกเล่าให้ทราบ) ให้คนในรุ่นหลังๆได้ทราบ บางเรื่องก็บอกเล่ากันตั้งแต่เด็ก (ดังที่ได้เห็นภาพเด็กๆมาเยี่ยมชมกันแสดงอยู่ในกระทู้นี้) บางเรื่องก็สอนอยู่ในวิชาประวัติศาสตร์ในช่วงการเรียนของวัยรุ่น บางเรื่องก็บอกกล่าวเล่าให้ฟังในช่วงสุดท้ายก่อนที่จะเรียนจบในภาคบังคับ (เล่าให้ฟังเพื่อทราบเพียงครั้งเดียว)    ดูจะต่างไปจากของเราที่ทั้งพยายามจะไม่สอนหรือเลิกสอนกัน (ในระดับการศึกษาภาคบังคับ) และรวมทั้งพยายามจะละการเล่าส่วนที่ดีที่เกี่ยวกับพลวัติในประวัติศาสตร์ไปเล่าในส่วนที่เป็นเรื่องปลีกย่อย

ความน่าสนใจเรื่องแรก คือ อาคารทำเนียบหลังนี้สร้างขึ้นมา (ในปี พ.ศ.2478) ในสมัยหลังจากการเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ถล่มกรุงโตเกียวจนราบในปี พ.ศ.2466 (ซึ่งเหลืออยู่แต่โรงแรม อิมพีเรียลที่ออกแบบโดย Frank lloy wright)   ฟังมาว่า แต่เดิมนั้นอาคารทำเนียบนี้ได้มีการออกแบบและจะก่อสร้างในช่วงประมาณปีที่เกิดแผ่นดินไหวนั้นเอง เมื่อเกิดแผ่นดินไหวจึงมีการออกแบบใหม่ให้มีความแข็งแรงและทนทานมากขึ้น ระยะเวลาการแก้ไขแบบก่อนที่จะพอใจและตัดสินใจก็พอๆกับระยะเวลาที่มีการเล่าในกระทู้นี้   ซึ่งก็ได้ดังใจคาดหวัง อาคารหลังนี้ได้ผ่านการทดสอบจากธรรมชาติ (แผ่นดินไหว) มาหลายสิบครั้งตั้งแต่สร้างเสร็จมา ไม่เคยได้รับความเสียหายในเชิงของโครงสร้างใดๆ จึงยังคงยืนยงคงกระพันมาจนถึงทุกวันนี้  เราเคยขอให้วิศวกรญี่ปุ่นมาตรวจสอบ เขาก็ว่ายังแข็งแรงดี แต่ถ้่าจะให้ดีกว่านี้ก็คงจะต้องทำเป็นโครงการใหญ่เพื่อการปรับปรุงเลยทีเดียว ซึ่งค่าใช้จ่ายอาจจะมากพอๆกับการสร้างใหม่เลยทีเดียว    อาคารหลังนี้ได้เคยมีการซ่อมแซมใหญ่มาแล้วครั้งหนึ่ง โดยเฉพาะภายใน ผมจำไม่ได้ว่าเมื่อใด คิดว่าสักประมาณ 10 กว่าปีมานี้
ผมคิดว่าเป็นเรื่องน่าสนใจที่ฝ่ายราชการไทย รวมทั้งองค์กรทางสถาปัตยกรรมและวิศวกรรมของไทยน่าจะได้ร่วมแรงกันทำโครงการศึกษาและแกะรายละเอียดต่างๆที่เกี่ยวข้องกับผังแบบ การออกแบบและการคำนวนทางวิศวกรรมของอาคารหลังนี้ เก็บไว้เป็นข้อมูลสำหรับคนรุ่นหลังๆและเป็นการ contribute ให้กับสังคมนานาชาติ   อย่างน้อยที่สุด ก็เป็นอาคารที่เกี่ยวกับเสี้ยวหนึ่งของประวัติศาสตร์ในภูมิภาคเอเซียซึ่งอยู่ในเขตอำนาจอธิปไตยของไทย  ญี่ปุ่นเขาอยากจะทำครับแต่มันอยู่นอกเขตอธิปไตยของเขา     

 
บันทึกการเข้า
พวงแก้ว
บุคคลทั่วไป
ความคิดเห็นที่ 100  เมื่อ 19 ส.ค. 12, 21:50

เห็นภาพการตกแต่งภายในแล้ว ค่อนข้างจะมีกลิ่นอายยุโรป ถ้าได้เข้าไปเยี่ยมชมการตกแต่งภายใน

คงอดเพลิดเพลินกับศิลป์ต่างๆไม่ได้  ถ้าได้นั่งดื่มชา หรือกาแฟ ริมหน้าต่างกระจก ทอดสายตาออกไปดูใบไม้เปลี่ยนสี

คงจะประทับใจ ในภาพนั้นมิรู้ลืมแล้วใช่ไหมคะ  ถ้าหน้าหนาวบรรยากาศจะเปลี่ยนไปอย่างไรบ้างคะ
บันทึกการเข้า
เพ็ญชมพู
หนุมาน
********
ตอบ: 12600



ความคิดเห็นที่ 101  เมื่อ 20 ส.ค. 12, 09:34

หน้าทำเนียบ

๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๕

ยิงฟันยิ้ม


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ

คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ

คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 102  เมื่อ 20 ส.ค. 12, 11:27

ช่วงที่ผมไป ประมาณกลางๆพฤศจิกา ลูกแปะก๊วยจากต้นนี้หล่นเกลื่อนถนน

ส่วนรูปนี้ น่าจะถ่ายเดือนเมษา ซากุระบานสะพรั่ง


บันทึกการเข้า
เพ็ญชมพู
หนุมาน
********
ตอบ: 12600



ความคิดเห็นที่ 103  เมื่อ 20 ส.ค. 12, 12:18

คุณ takuan21a เจ้าของภาพ บรรยายไว้ดังนี้

2012年 03月 14日
タイ王国大使館(旧浜口邸)  

竣工:1934年(昭和9年)
場所:品川区上大崎3-14


๑๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๕
สถานเอกอัครราชทูตราชอาณาจักรไทย (บ้านเก่าของตระกูลฮามากุจิ)

สร้างเสร็จ : พ.ศ. ๒๔๗๗ (ปีโชวะที่ ๙)
ที่ตั้ง : ๓-๑๔ คามิโอซากิ เขตชินากาวา

ขออภัย

เลื่อนลงไปใต้ภาพทั้งหมดพบกุญแจไขวันเวลา

撮影日:2009年4月

ถ่ายภาพ : เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๒

ตรงตามที่คุณนวรัตนคาดคะน

 อายจัง



บันทึกการเข้า
เพ็ญชมพู
หนุมาน
********
ตอบ: 12600



ความคิดเห็นที่ 104  เมื่อ 20 ส.ค. 12, 16:47

ภาพวาดของศิลปินญี่ปุ่น


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 ... 5 6 [7] 8
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006, Simple Machines
Simple Audio Video Embedder

XHTML | CSS | Aero79 design by Bloc หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.074 วินาที กับ 20 คำสั่ง