เรือนไทย
ยินดีต้อนรับ ท่านผู้มาเยือน
กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
ข่าว: การแนบไฟล์ กรุณาใช้ชื่อไฟล์ภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ
หน้า: [1]
  พิมพ์  
อ่าน: 10130 "กว่า" ของไทยกับ "过" (guo)ของจีน
han_bing
นิลพัท
*******
ตอบ: 1622



 เมื่อ 09 ก.ค. 12, 13:22

เรียนสมาชิกเรือนไทยทุกท่าน

ข้าพเจ้าเคยถามทุกท่านไปเรื่องคำว่า "กว่า" ในภาษาไทยเพราะจะเอาไปทำรายงานชิ้นเล็กๆในวิชาไวยากรณ์ ข้าพเจ้าทำรายงานเสร็จแล้ว และส่งไปแล้ว ขอนำมาเผยแพร่สักนิด

ทั้งนี้ต้องแจ้งก่อนว่าข้าพเจ้าไม่ใช่นักไวยากรณ์ และไม่ได้เรียนด้านภาษาศาสตร์ อาจมีความผิดพลาด ท่านใดที่เชี่ยวชาญสามารถคัดค้านได้ ไม่ถือโทษแต่อย่างใด

 ยิงฟันยิ้ม
บันทึกการเข้า
han_bing
นิลพัท
*******
ตอบ: 1622



ความคิดเห็นที่ 1  เมื่อ 09 ก.ค. 12, 13:28

ในภาษาจีนนั้น คำว่า "过" (guo) ออกเสียงว่า "กั่ว" ความหมายโดยทั่วไปของคำดังกล่าวจะใช้ในบริบทว่า "ข้าม,ผ่าน,เลย,เคย" แต่ความหมายอื่นๆยังจะมีอีก

นี้ข้าพเจ้าคัดจากเว็ปที่อธิบายเป็นภาษาอังกฤษให้ท่านลองอ่านดู

词典解释
1.
to go across; to pass
2.
across; through
3.
exceeding; above
4.
to spend time; to pass time
5.
over; excessively
6.
a fault; mistakes
บันทึกการเข้า
han_bing
นิลพัท
*******
ตอบ: 1622



ความคิดเห็นที่ 2  เมื่อ 09 ก.ค. 12, 13:32

ต่อไปเป็นการอธิบายอย่างละเอียดเป็นภาษาจีน ซึ่งข้างท้ายมีภาษาอังกฤษกำกับ

ที่มาของทั้งสองมาจาก http://dict.baidu.com/s?wd=%B9%FD

过的中文解释
以下结果由汉典提供词典解释
过 guò
部首笔画
部首:辶  部外笔画:3  总笔画:6
五笔86:FPI  五笔98:FPI  仓颉:YDI
笔顺编号:124454   四角号码:34300  Unicode:CJK 统一汉字 U+8FC7

基本字义
1.
从这儿到那儿,从此时到彼时:~江。~账。~程。~渡。~从(交往)。经~。
2.
经过某种处理方法:~秤。~磅。~目。
3.
超出:~于。~度(dù)。~甚。~奖(谦辞)。~量(liànɡ)。~剩。~犹不及。
4.
重新回忆过去的事情:~电影。
5.
从头到尾重新审视:把这篇文章再~一~。
6.
次,回,遍:把文件看了好几~儿。
7.
错误:~错。记~。

详细字义
〈动〉
1.
(形声。从辵( chuò),表示与行走有关,咼( guā)声。本义:走过,经过)
2.
同本义 [go across;pass through]
过,度也。——《说文》
禹八年于外,三过其门而不入。——《孟子·滕文公上》
雷霆乍惊,宫车过也。——杜牧《阿房宫赋》
有过于江上者,见人方引婴儿而欲投之江中。——《吕氏春秋·察今》
行过夷门,见侯生。——《史记·魏公子列传》
3.
又如:过江;过马路;从这条街上过;从他门前过;路过(途中经过);过翼(经过的飞鸟);过宾(路过的宾客);过处(经过之处);过来过往(来往经过);过阴(到阴间走一趟)
4.
超出,胜过 [exceed;go beyond]
从此道至吾军,不过二十里耳。——《史记·项羽本纪》
力能扛鼎,才气过人。
大都不过参国之一。——《左传·隐公元年》
一出门,裘马过世家焉。——《聊斋志异·促织》
古之人所以大过人者,无他焉,善推其所为而已矣。——《孟子·梁惠王上》
5.
又如:过如(超过;胜过);过了漕(过了漕运期限);过情(超过实际);过实(超过实际情况);过绝(超越;超过)
6.
过去(过后) [pass by;go over]
天子偶用一物,未必不过此已忘。——《聊斋志异·促织》
花过而采,则根色黯恶,此其效也。——宋· 沈括《梦溪笔谈》
7.
又如:三伏已过;雨过天晴;过迹(过去的形迹);过景(过时;不应景);过逝(流逝。很快地过去);过郤(过去)
8.
[婉词]∶去世 [pass away]
陛下虽过世为神,岂假手于苻登而图臣,忘前征时言邪?——《晋书·苻登载记》
9.
又如:过作(死);老太太是三天前过的;过辈(去世);过背(去世);过七(人死后每七天举行一次吊祭仪式。一般七次或五次而断七)
10.
给予;递给 [give]
邮人之过书,门者之传教也。——《论衡》
予亦谓之过。辰州人谓以物予人曰过。——《通雅》
11.
又如:过度
12.
渡过 [cross]
野市分獐闹,官帆过渡迟。——宋· 苏轼《荆州》
13.
又如:过索(渡河之绳索);过江(渡过长江)
14.
转移;过渡 [transfer]
买的房子已付款,只是过户手续还未办理好
过录底稿
15.
又如:过龙(经手递送贿赂);过处(词的上下片过渡之处。亦称“过片”)
16.
〈方〉∶ 传染 [infect]。如:过病(传染疾病)
17.
度过;过活 [spend the time;pass the time]
吾家后日当甚贫,贫无所苦,清静过日而已。——清· 林觉民《与妻书》
18.
又如:过阴天儿(休息);过老(度晚年);过日(度日;生活);过遣(打发日子,消磨时光)
19.
来访;前往拜访;探望 [visit]
于是乘其车,揭其剑,过其友。——《战国策·齐策四》
自迎嬴于众人广坐之中,不谊有所过,今公子故过之。——《史记·魏公子列传》
20.
又如:过临(光临;惠临);过款(过访);过晤(前往会见)
21.
交往,相处 [associate;contact]
稍喜过从近,扶筇不驾车。——宋· 黄庭坚《次韵德孺五丈新居病起》
过从甚密
22.
又如:过逢;过从(互相交往);过会(农家亲朋每年定期聚会的日子,或公社每年举行庙会的节日)
23.
交谈 [talk with each other;converse]。如:过谈(往访交谈)
24.
错,犯错误 [mismake]
微二人,寡人几过。——《吕氏春秋·审应览·具备》
人恒过,然后能改。——《孟子·告子下》
(赵太后)曰:“君过矣,不若长安石之甚。”——《战国策·赵策》
25.
失去 [lose]。如:过序(失去正常规律顺序)
26.
怪罪,责难 [censure]
孔子曰:“ 求,无乃尔是过与?(这恐怕应该责备你吧!)”——《论语·季氏》
闻大王有意督过之,脱身得去,已至军矣。——《史记·项羽本纪》
27.
又如:不过(不怪罪);过谪(责备;怪罪);过適(怪罪,责难)
28.
继入、赘入或嫁人 [adopt;marry]
孩儿也,他如今只待过门,喜事匆匆的,教我怎生回得他去。——元· 关汉卿《窦娥冤》
29.
又如:过嗣(过继);过给(过继)
30.
方言。指母猪生小猪 [farrow]。如:过下来的小猪(生下来的小猪)
31.
传递 [transport]
他这个人喜欢过嘴,你说话可要注意
32.
又如:过盏(敬酒);过嘴(传话);过语(传话);过书(传递书信);过气(传送气息以交配);过状(递交文状、诉状)
33.
帮助咽下;和着吃 [swallow]。如:过过(过口,改口味);过口(吃食物下酒);过酒(下酒;送酒)
34.
冲刷;漂洗 [wash off]。如:过水(用水漂洗)
35.
[语助]
36.
用在动词加“不”或“得”的后面,表示胜过或通过的意思。如:过不去(有阻碍,通不过);讲不过礼去(于礼仪上行不通);比得过(能胜过他人);我说不过你
37.
用在动词后,表示完毕。如:吃过(吃完);起过(已经起床完毕)
38.
用在动词后,表示某种行为或变化曾经发生,但并未继续到现在。如:读过书(曾经读书,现己不读书);当过官(过去做过官,现己不为官)
我去过北京
饭吃过了

〈名〉
1.
无意的犯法或作恶行为;错误 [fault;mistake]
过,罪愆也。——《说文》
出入禁闼,补过拾遗。——《史记·汲黯列传》
过则无惮改。——《论语·学而》
夫过有厚薄,则刑有轻重。——《商君书·开塞》
刑过不避大夫,赏善不遗匹夫。——《韩非子·有度》
群臣吏民能面刺寡人之过者,受上赏。——《战国策·齐策》
然而累汝至此者,未尝非予之过也。——清· 袁枚《祭妹文》
2.
又如:过愆(过失;罪咎);过恶(过错);勇于改过;知过必改;过行(过失行为);过计(估计错误)
3.
〈方〉∶缘故 [cause;reason]。如:离家远的过(离家远的缘故);夏天的过(因为夏天的缘故)
4.
通“祸”( huò)。灾殃 [disaster;adversity]
八曰诛以驭其过。——《周礼·天官·大宰》
5.
又如:大过(大灾大祸)

〈形〉
1.
过分;;过于;太甚 [excessive]
以其境过清,不可久居,乃记之而去。——唐· 柳宗元《至小丘西小石潭记》
古者天下之人爱戴其君,比之如父母;拟之如天,诚不过也。——清· 黄宗羲《原君》
2.
又如:过爱(过分的爱);过余(过分);过头话(过分的大话)

〈量〉
1.
遍,次 [time]。如:过儿(次;遍);一过(一遍);过子(次数;遍)
2.
另见 guō
บันทึกการเข้า
han_bing
นิลพัท
*******
ตอบ: 1622



ความคิดเห็นที่ 3  เมื่อ 09 ก.ค. 12, 14:22

แม้ว่าคำว่า "กั่ว" (过:guo) ในภาษาจีนกลางจะมีความหมายพื้นฐานดังข้างต้น แต่ความหมายอื่นๆก็มีอีกหลายความหมาย
่ว
ในพื้นที่ทางใต้ของจีน แถบกวางตุ้ง และฮกเกี้่ยน ซึ่งมีภาษาท้องถิ่นของตนเอง ทางกวางตุ้ง เรียกว่า "เย่ว์หยู่" (粤语:yue yu) แปลว่าภาษาเย่ว์ และและทางฮกเกี่้ยนเรียกว่า หมินหยู่ (闽语:min yu) แปลว่าภาษาหมิน คำว่ากั่ว (过:guo) ก็มีการใช้คำว่ากั่ว (过:guo) เช่นกัน โดยมีการใช้ในบริบทที่ต่างกัน ซึ่งมีบริบทหนึ่งทีน่าสังเกตคือใช้ในโครงสร้างคำเปรียบเทียบ ซึ่งปรกติภาษาจีนกลางนิยมใช้คำว่า "ปี่" (比:bi) ซึ่งมีความหมายตรงกับคำว่า "กว่า" ในภาษาไทย แต่ในภาษาท้องถิ่นข้างต้น มีการปรากฎคำว่า "กั่ว" (过:guo)  แทนคำว่าปี่ (比:bi)

ในประเทศไทย ภาษาท้องถิ่นของจีนที่แพร่หลายได้แก่ ภาษาตระกูลหมิน คือภาษาแต้จิ๋ว (潮州话:chao zhou hua) ซึ่งถ้าจะพูดให้เจาะจงมากยิ่งขึ้นคือภาษาหมินทางตอนใต้ (闽南话:min nan hua) ภาษาเย่ว รวมทั้งภาษากวางตุ้ง (广东话:guang dong hua)และภาษาจีนแคะ (客家话:ke jia hua)
บันทึกการเข้า
han_bing
นิลพัท
*******
ตอบ: 1622



ความคิดเห็นที่ 4  เมื่อ 09 ก.ค. 12, 15:09

ต่อไปนี้เราจะลองมาดูวิธีการเปรียบเทียบโดยใช้คำว่า "กั่ว" (过:guo) ในภาษาท้องถิ่นสามแห่งข้างต้น

๑. ภาษาแต้จิ๋ว

经过鸡毛。(qing guo ji mao) เบา/กว่า/ขนไก่

ภาษาจีนกลาง คือ 比鸡毛还轻。(bi ji mao hai qing) กว่า/ขนไก่/ยัง/เบา

ทั้งหมดมีความหมายว่า "เบากว่าขนไก่"

๒. ภาษากวางตุ้ง

我肥过你 (wo fei guo ni) ฉัน/อ้วน/กว่า/เธอ

ภาษาจีนกลาง คือ我比你胖 (wo bi ni pang) ฉัน/กว่า/เธอ/อ้วน

ทั้งหมดมีความหมายว่า "ฉันอ้วนกว่าเธอ"

๓. ภาษาจีนแคะ

ในภาษาจีนแคะจะมีการใช้ทั้ง ปี่ (比:bi) และกั่ว (过:guo) ในประโยคเดียว หากในไทยแถบกรุงเทพมหานครจะพบแบบใช้กั่วอย่างเดียวในประโยคดังภาษากวางตุ้ง
ตัวอย่างนี้จะเป็นแบบที่พบในจีน

狗比猫过大 (gou bi mao guo da) สุนัข/กว่า/แมว/กว่า/ใหญ่

ภาษาจีนกลาง คือ 狗比猫大 (gou bi mao da) สุนัข/กว่า/แมว/ใหญ่

ทั้งหมดมีความหมายว่า "สุนัขใหญ่กว่าแมว"

สันนิษฐานว่าอาจจะได้รับภาษาจีนกลางเข้ามาผสมจึงมีโครงสร้างประโยคแบบนี้
บันทึกการเข้า
han_bing
นิลพัท
*******
ตอบ: 1622



ความคิดเห็นที่ 5  เมื่อ 09 ก.ค. 12, 15:26

จริงๆการว่างคำว่า "กั่ว" (过:guo) ไว้ในตำแหน่งเดียวกับคำว่า "กว่า" ในภาษาไทย ผิดกับตำแหน่งของคำว่า "ปี่" (比:bi) ในภาษาจีนกลาง ถือเป็นลักษณ์ที่ภาษาท้องถิ่นของจีนได้อนุรักษ์การวางผังไวยากรณ์แบบจีนโบราณไว้ ในกรณีการเปรียบเทียบ เพราะในสมัยจีนโบราณ การเปรียบเทียบ จะใช้คำว่า "หยู่" (于:yu) ในการเปรียบเทียบ

โดยตำแหน่งการวางคำว่า "หยู่" (于:yu) จะอยู่ในตำแหน่งเดียวกับคำว่า "กั่ว" (过:guo) ที่ใช้ในการเปรียบเทียบของภาษาจีนท้องถิ่นที่ข้าพเจ้ายกตัวอย่างมาข้างต้น และใช้คำว่า "กั่ว" (过:guo) มาแทนที่

นี้คือตัวอย่างการวางประโยคเปรียบเทียบความแตกต่างแบบจีนโบราณ “A + adjective+ 于 + B”

ขอแจงไว้สักนิดหนึ่ง ภาษาจีนที่ใช้ในสมัยโบราณของจีน ไม่เหมือนกับภาษาจีนที่ใช้ในทุกวันนี้ ความหมายของคำเปลี่ยนไป โครงสร้างไวยากรณ์เปลี่ยนไป

จริงๆแล้วภาษาจีนกลางทุกวันนี้เป็นภาษาจีนที่ผสมผสานกับภาษาของชนกลุ่มน้อยทางเหนือซึ่งเข้ามารุกรานและปกครองประเทศจีน ภาษาจีนดั้งเดิมจริงๆก่อนการผสมผสานน่าจะอยู่หลงเหลืออยู่ในภาษาจีนท้องถิ่นของกลุ่มชาวจีนทางใต้เสียมากกว่า ดังภาษากวางตุ้ง หรือภาษาฮกเกี้ยน

ที่ผ่านมา มีการสันนิษฐานว่าคนไทยอพยพมาจากตอนใต้ของจีน ความคิดนี้ภายหลังมีการแย้งว่าไม่น่าจะเป็นไปได้ อย่างไรก็ตาม มีนักวิชาการบางท่านวิจัยถึงการเกี่ยวโยงเป็นเครือญาติทางภาษาของภาษาไทยกับภาษาชาวไตในทางตอนใต้ของจีนว่าน่าจะเป็นเครือญาติกัน ซึ่งข้าพเจ้าก็แอบเชื่อ เพราะนั่งฟังเพลงของคนไตในจีน บางคำฟังได้เป็นภาษาไทยเลย

และมีการทำวิจัยกันถึงความเกี่ยวโยงกันระหว่างภาษากวางตุ้งทีเรียกว่าภาษาเย่ว์ อาจส่งอิทธิพลต่อภาษาไต

ข้าพเจ้าคงไม่กล้าตอบไปว่าคนไทย และภาษาไทยมีรากฐานมาจากจีน เพราะจะต้องใช้การวิจัยมากกว่านี้อีกมากมาย แต่ที่ข้าพเจ้ายกมาคือความคล้ายคลึงกันในบางส่วนให้ทุกๆลองตั้งข้อสังเกตกัน

สวัสดี

ปล. นี้คือเพลงคนไตในสิบสองปันนาร้อง ลองฟังดู ข้าพเจ้าฟังบางคำแล้วอ่านคำแปลจีนตกใจมาก เพราะตรงกับภาษาไทยหลายจุด

บันทึกการเข้า
han_bing
นิลพัท
*******
ตอบ: 1622



ความคิดเห็นที่ 6  เมื่อ 09 ก.ค. 12, 15:32

ท่านใดอยากค้นให้ใช้คำนี้ค้น 西双版纳傣族歌曲

เพลงนี้มีภาษาไทยบรรยายด้วย



ส่วนท่านใดอยากฟังเสียงภาษาจีนท้องถิ่นต่างๆ ไปตามเว็ปไซด์นี้

http://cn.voicedic.com/

วิธีใช้คือใส่คำภาษาจีนลงไป และกดตรงภาษาจีนในท้องถิ่นต่างๆ สามารถนำที่ข้าพเจ้าเขียนข้างบนมาลองเทียบดูได้

ทั้งนี้ส่วนตัวของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าลองฟังเสียงดู ภาษาจีนตระกูลหมินหนานออกเสียงคำว่า "กั่ว" (过:guo) ออกเสียงคล้ายคำว่า "กว่า" ของไทยจริงๆ

บันทึกการเข้า
han_bing
นิลพัท
*******
ตอบ: 1622



ความคิดเห็นที่ 7  เมื่อ 09 ก.ค. 12, 16:01

ภาพสงกรานต์ของชาวไทยในสิบสองปันนา

และภาพทิวทัศน์



บันทึกการเข้า
Arboramo
อสุรผัด
*
ตอบ: 14


ความคิดเห็นที่ 8  เมื่อ 10 ก.ย. 13, 12:43

น่าสนใจเทียวครับ ภาษาท้องถิ่นจีนแม้อยากเรียน แต่ใช้ได้ไม่กว้้างขวางเท่า ทั้งที่มีความลึกซึ้งรัดกุมกว่า
แต่ทำให้เห็นความเกี่ยวข้องหลายๆอย่างกับภาษาไทยแท้ๆนะครับ
บันทึกการเข้า
CrazyHOrse
แขกเรือน
นิลพัท
*******
ตอบ: 1899



เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 9  เมื่อ 10 ก.ย. 13, 15:18

คำว่า 比 (แต้จิ๋วว่า ปี้) แปลว่า เปรียบ(กับ) น่าจะใกล้เคียงมากกว่าแปลว่า กว่า นะครับ ส่วน 过 แต้จิ๋วออกเสียงว่า ก่วย (หรือ เกว่)

ในภาษาแต้จิ๋ว ประโยคเปรียบเทียบนิยมพูดกันอยู่ 2 แบบ ตัวอย่างเช่นจะพูดว่า "หมา(ตัว)โตกว่าแมว" จะได้ดังนี้
1. เก้าตั่วก้วยเงียว 狗大过猫 ถอดเป็นไทยคำต่อคำได้ว่า หมาโตกว่าแมว
2. เก้าปี๋เงียวตั่วก่วย 狗比猫大过 ถอดเป็นไทยคำต่อคำได้ว่า หมาเปรียบแมวโตกว่า

ไวยากรณ์แบบไหนจะมีที่มาอย่างไรนั้นผมก็ไม่ทราบเหมือนกันครับ อย่างรูปประโยคที่ 2 นั้น น่าสนใจว่าแต้จิ๋วรับไวยากรณ์มาจากจีนกลาง แล้วเติม 过 ต่อท้ายเข้าไป หรือว่าไวยากรณ์จีนโบราณเป็นแบบนี้แล้วจีนกลางตัด 过 ทิ้งเพราะเห็นว่ามีหรือไม่ก็สื่อความหมายไม่ต่างกันก็ไม่ทราบนะครับ

น่าสนใจว่า โต กับ ตั่ว ออกเสียงคล้ายกัน และ ปี้ กับ เปรียบ ก็คล้ายกันด้วย
บันทึกการเข้า

"Postel's Law": "be conservative in what you do, be liberal in what you accept from others"
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006, Simple Machines
Simple Audio Video Embedder

XHTML | CSS | Aero79 design by Bloc หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.207 วินาที กับ 19 คำสั่ง