เรือนไทย
ยินดีต้อนรับ ท่านผู้มาเยือน
กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
ข่าว: การแนบไฟล์ กรุณาใช้ชื่อไฟล์ภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ
หน้า: [1]
  พิมพ์  
อ่าน: 10551 คำพิพากษาของศาลอุทธรณ์ คดีน้ำอบ
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
 เมื่อ 06 ก.ค. 12, 13:41

*


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 1  เมื่อ 06 ก.ค. 12, 13:42

*


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 2  เมื่อ 06 ก.ค. 12, 13:42

*


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 3  เมื่อ 06 ก.ค. 12, 13:43

*


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 4  เมื่อ 06 ก.ค. 12, 13:44

*


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 5  เมื่อ 06 ก.ค. 12, 13:44

*


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 6  เมื่อ 06 ก.ค. 12, 13:46

*


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
********
ตอบ: 7165


หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง


ความคิดเห็นที่ 7  เมื่อ 06 ก.ค. 12, 14:01

อ่านแล้วครับผม ทั้งนี้ผมขอความรู้ว่าสู้กันมาถึง ๒ ศาล คือ ศาลชั้นต้นตัดสินแล้ว ศาลอุทรณ์เห็นพ้องด้วย ยืนตามศาลชั้นต้น แสดงว่าโจทย์ และ จำเลย ยังจะสู้ต่อได้อีกถึงศาลฎีกาเลยใช่หรือไม่

ทั้งนี้จำเลยได้กระทำการหนีไป ยังมีคดีหมายจับอีก ทำให้มูลเหตุความผิดหนาแน่นขึ้นไปอีก แบบนี้จะฟ้องได้ถึงศาลฎีกาได้หรือ
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 8  เมื่อ 06 ก.ค. 12, 14:13

ดิฉันไม่ทราบขั้นตอนเรื่องฎีกาค่ะ    ถ้าใครมีความรู้ทางกฎหมาย กรุณาตอบด้วยนะคะ ขอบคุณ
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 9  เมื่อ 12 ก.ค. 12, 08:53


ในคดีหมิ่นประมาท ระหว่างคุณหญิง วินิตาดิถียนต์ โจทก์ และน.ส. วารวิณ มัชฌิมา จำเลย ที่ศาลชั้นต้นตัดสินว่าจำเลยมีความผิดตามฟ้องนั้น   จำเลยได้อุทธรณ์    บัดนี้ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามศาลชั้นต้น
ส่วนคดีที่คุณหญิงวินิตาฟ้องน.ส.วารวิณ ข้อหาหมิ่นประมาท เป็นคดีที่สอง  จำเลยไม่มาศาลตามนัดหมาย  ศาลจึงออกหมายจับ มีอายุความ ๑๐ ปี    จนบัดนี้จำเลยยังไม่มาแสดงตนต่อศาล    ศาลจึงจำหน่ายคดีชั่วคราวจนกว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจจะจับกุมจำเลยได้   จึงจะพิจารณาคดีต่อไป
หากว่าพลเมืองดีท่านใด  ทราบที่อยู่ของจำเลย  โปรดแจ้งเบาะแสมาที่ vinita_lawyer@yahoo.com ด้วย จะเป็นพระคุณอย่างยิ่ง
 
บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 10  เมื่อ 12 ก.ค. 12, 19:45

อ้างถึง
อ่านแล้วครับผม ทั้งนี้ผมขอความรู้ว่าสู้กันมาถึง ๒ ศาล คือ ศาลชั้นต้นตัดสินแล้ว ศาลอุทรณ์เห็นพ้องด้วย ยืนตามศาลชั้นต้น แสดงว่าโจทก์ และ จำเลย ยังจะสู้ต่อได้อีกถึงศาลฎีกาเลยใช่หรือไม่

ทั้งนี้จำเลยได้กระทำการหนีไป ยังมีคดีหมายจับอีก ทำให้มูลเหตุความผิดหนาแน่นขึ้นไปอีก แบบนี้จะฟ้องได้ถึงศาลฎีกาได้หรือ

เพื่อตอบคำถามของคุณหนุ่มสยาม และเป็นความรู้ของบุคคลทั่วไป ผมจึงได้ค้นคำตอบมาให้ดังนี้ครับ

โดยปกติศาลต้องอ่านคำพิพากษาหรือคำสั่งให้จำเลยฟัง จำเลยจึงต้องมาฟังตามวันเวลาที่ศาลนัด ถ้าจำเลยไม่มาฟังและศาลมีเหตุสงสัยว่าจำเลยจงใจหลบหนี  หรือจงใจไม่มา ศาลจะออกหมายจับจำเลย ถ้ายังไม่ได้ตัวจำเลยมาภายใน ๑ เดือน นับแต่วันออกหมายจับ ศาลอาจอ่านคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นลับหลังจำเลยได้ โดยถือว่าจำเลยได้ฟังคำพิพากษาหรือคำสั่งนั้นแล้ว
เมื่อศาลชั้นต้นหรือศาลอุทธรณ์พิพากษาลงโทษจำเลยอย่างใด ถ้าเป็นคดีที่ไม่ต้องห้ามอุทธรณ์หรือต้องห้ามฎีกา โจทก์จำเลยมีสิทธิอุทธรณ์หรือฎีกาไปยังศาลอุทธรณ์ หรือศาลฎีกา โดยยื่นอุทธรณ์หรือฎีกาต่อศาลชั้นต้น ภายในกำหนด ๑ เดือน นับแต่วันอ่านหรือถือว่าได้อ่านคำพิพากษาศาลชั้นต้นหรือศาลอุทธรณ์แล้วแต่กรณีให้จำเลยฟัง


คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 276/2504

เมื่อออกหมายจับจำเลยเพื่อให้มาฟังคำพิพากษาศาลอุทธรณ์เกินเดือนแล้ว ไม่ได้ตัวจำเลยมา ศาลจึงอ่านคำพิพากษานั้นให้โจทก์ฟังถือว่าได้อ่านคำพิพากษาโดยชอบด้วยกฎหมายแล้ว จำเลยยื่นฎีกาเกินหนึ่งเดือนนับแต่วันศาลอ่านดังกล่าว ฎีกาของจำเลยย่อมขาดอายุฎีกา แม้ว่าศาลจะได้อ่านคำพิพากษานั้นให้จำเลยฟังอีก เมื่อได้ตัวจำเลยมาแล้วหลังจากวันอ่านดังกล่าวข้างต้น 5 เดือนเศษ ก็เป็นแต่เพียงให้จำเลยได้ทราบคำพิพากษาตามที่จำเลยต้องการเท่านั้น หามีผลทำให้ยืดอายุฎีกาไม่

สรุปคือ จำเลยมีสิทธิ์ฏีกาได้ภายใน๑เดือน นับจากวันที่อ่านคำพิพากษาไปแล้วครับ  และไม่ว่าจะมายื่นฎีกาหรือไม่มา ตลอดอายุความของหมายจับ ไม่ว่าจะนานเท่าไรจำเลยยังอาจโดนจับกุมมาฟังศาลอ่านคำพิพากษานั้นให้จำเลยฟังอีกได้


บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006, Simple Machines
Simple Audio Video Embedder

XHTML | CSS | Aero79 design by Bloc หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.044 วินาที กับ 19 คำสั่ง