ไตรวุธ
อสุรผัด

ตอบ: 29
|
ความคิดเห็นที่ 180 เมื่อ 06 มิ.ย. 12, 21:17
|
|
อันนี้ชัดดีเสียดายช่างกล้องไม่ได้ถ่ายใกล้อยากเห็นพระพักตร์กับอริยาบทแบบเคลื่อนไหว FhP635c6LLE
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
siamese
|
ความคิดเห็นที่ 181 เมื่อ 06 มิ.ย. 12, 21:25
|
|
ทรงกระฉับกระเฉงมาก ๆ เลย
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
werachaisubhong
|
ความคิดเห็นที่ 182 เมื่อ 07 มิ.ย. 12, 11:23
|
|
ผมอยากทราบขุนนางหนุ่มท่านนี้คือใครครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
ฅนเมียงแป้ มาอยู่ เจียงฮาย
|
|
|
werachaisubhong
|
ความคิดเห็นที่ 183 เมื่อ 07 มิ.ย. 12, 11:28
|
|
พระองค์เจ้ามนุยนาคมานพ (สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส)
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
ฅนเมียงแป้ มาอยู่ เจียงฮาย
|
|
|
werachaisubhong
|
ความคิดเห็นที่ 184 เมื่อ 07 มิ.ย. 12, 11:28
|
|
พระโอรสและพระหลานเธอในพระบรมวงศานุวงศ์ ทรงศึกษาภาษาอังกฤษ กับนายฟรานซิล ยอร์ช แพตเตอร์สัน ไม่ทราบว่ามีใครบ้างครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
ฅนเมียงแป้ มาอยู่ เจียงฮาย
|
|
|
werachaisubhong
|
ความคิดเห็นที่ 185 เมื่อ 07 มิ.ย. 12, 11:30
|
|
สตรีในโรงเรียนมิชชันนารีสมัยรัชกาลที่ ๔ ในชั้นเรียนที่ภรรยา หมอเฮาส์สอนหนังสือ สอนตัดเย็บ และการซักรีดเสื้อผ้า
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
ฅนเมียงแป้ มาอยู่ เจียงฮาย
|
|
|
werachaisubhong
|
ความคิดเห็นที่ 186 เมื่อ 07 มิ.ย. 12, 15:41
|
|
รูปนี้มีใครบ้างครับ ในโอกาสอะไรเหรอครับ แล้วอยู่ประมาณปีไหนครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
ฅนเมียงแป้ มาอยู่ เจียงฮาย
|
|
|
werachaisubhong
|
ความคิดเห็นที่ 187 เมื่อ 07 มิ.ย. 12, 15:44
|
|
ในภาพบอกว่าเป็น หม่อมเจียงคำ ชุมพล ณ อยุธยา นามเดิม อัญญานางเจียงคำ บุตโรบล ถวายตัวเป็นหม่อมใน พลตรี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ ไม่ทราบปีถ่ายครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
ฅนเมียงแป้ มาอยู่ เจียงฮาย
|
|
|
werachaisubhong
|
ความคิดเห็นที่ 188 เมื่อ 07 มิ.ย. 12, 15:45
|
|
หม่อมบาง บุนนาค
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
ฅนเมียงแป้ มาอยู่ เจียงฮาย
|
|
|
werachaisubhong
|
ความคิดเห็นที่ 189 เมื่อ 07 มิ.ย. 12, 15:46
|
|
ภาพทหารสมัย ร.5 ที่เรายกทัพไปปราบพวกฮ่อที่แคว้นหลวงพระบาง เมื่อปีพ.ศ. 2428 ขวามือสุดคือปืนกลกัตลิ่งติดตั้งบนหลังช้างครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
ฅนเมียงแป้ มาอยู่ เจียงฮาย
|
|
|
siamese
|
ความคิดเห็นที่ 190 เมื่อ 07 มิ.ย. 12, 16:02
|
|
รูปนี้มีใครบ้างครับ ในโอกาสอะไรเหรอครับ แล้วอยู่ประมาณปีไหนครับ
ถ่ายไว้เมื่อคราวเปิดสถานเอกอัครราชทูตประจำกรุงลอนดอน
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
werachaisubhong
|
ความคิดเห็นที่ 191 เมื่อ 12 มิ.ย. 12, 12:34
|
|
มาทางภาคเหนือ หรือ ล้านนา กันบ้างนะครับ เจ้าหลวงเมืองแพร่ เจ้าหลวงพิริยเทพวงศ์อุดร (พระยาพิริยวิไชย) (พ.ศ. ๒๔๓๒ – ๒๔๔๕) มีนามเดิมว่า เจ้าน้อยเทพวงศ์ สมภพเมื่อวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๓๗๙ เป็นโอรสองค์โตของเจ้าหลวงพิมพิสารและแม่เจ้าธิดา เ มื่ออายุได้ ๕๓ ปี ได้รับสถาปนาขึ้นครองเมืองแพร่ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๒ ในฐานะเมืองประเทศราชของไทย (ประเทศสยาม) มีบรรดาศักดิ์ เป็นพระยาพิริยวิไชย จนกระทั่งตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๙ ได้รับสถาปนาขึ้นเป็น “เจ้าพิริยเทพวงศ์” เจ้าผู้ครองนครแพร่
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
ฅนเมียงแป้ มาอยู่ เจียงฮาย
|
|
|
werachaisubhong
|
ความคิดเห็นที่ 192 เมื่อ 12 มิ.ย. 12, 12:51
|
|
เจ้าบุญวาทย์วงศ์มานิต (พ.ศ. 2400 - พ.ศ. 2465) เจ้าผู้ครองนครลำปาง องค์ที่ ๑๐ ไม่ทราบปีถ่ายแต่หน้าจะอยู่ในราว สมัยรัชกาลที่ ๕
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
ฅนเมียงแป้ มาอยู่ เจียงฮาย
|
|
|
werachaisubhong
|
ความคิดเห็นที่ 193 เมื่อ 12 มิ.ย. 12, 12:56
|
|
เจ้าอุปราชบุญทวงค์ ในสมัยพระเจ้าอินทวิทชยานนท์ มีคนที่มีอำนาจในการปกครองอยู่สองคนหรือ บางครั้งมีอำนาจมากกว่าเจ้าหลวงอีก และ เป็นคนคอยเป็นหูเป็นตาแทนเจ้าหลวง คือ เจ้าอุปราชบุญทวงศ์ และเจ้าทิพย์ไกสร (พระชายาในพระเจ้าอินทวิทชยานนท์) เจ้าอุปราชบุญทวงศ์ เป็นน้องชายถัดจาก พระเจ้าอินทวิทชยานนท์ สมัยที่เจ้าอินทวิชยานนท์ เป็นเจ้าหลวง เจ้าอุปราชบุญวงศ์ ดำรงตำแหน่งเจ้าอุปราชเมืองเชียงใหม่ มีบทบาทในการปกครองมากบางครั้งมีอำนาจมากกว่าเจ้าหลวงอีก เพราะสามารถจะลบล้างคำสั่งเจ้าหลวงได้ ถ้าท่านไม่เห็นด้วย เจ้าอุปราชบุญวงศ์ ท่านเป็นคนที่ย้ายคนที่ถูกกล่าวหาว่าเป็น "ผีกะ" แถบบ้านตองกายและหลายหมู่บ้านในตัวเวียงเชียงใหม่ ไปไว้แถวอำเภอพาน เชียงราย เพื่อป้องกันควมขัดแย้งระหว่างหมู่บ้าน ท่านมีอุปนิสัยเฉียบขาด แต่เสียดายที่ท่านมีอายุสั้น มีคนกล่าวว่าถ้าสองท่านนี้ยังอยู่การแทรกแซงอำนาจจากสยามที่จะเข้ามาใน นครเชียงใหม่ จะกระทำได้ยากยิ่งนัก น่าจะอยู่ในราวสมัยรัชกาลที่ ๕ ครับ ไม่ทราบปีถ่าย
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
ฅนเมียงแป้ มาอยู่ เจียงฮาย
|
|
|
V_Mee
|
ความคิดเห็นที่ 194 เมื่อ 12 มิ.ย. 12, 15:48
|
|
ข้อมูลเกี่ยวกับเจ้าพิริยเทพวงษ์ที่เผยแพร่กันอยู่ที่เมืองแพร่ออกจะเพี้ยนๆ ไปสักนิด เพราะนีบแต่กบฏเงี้ยวเมืองแพร่ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๕ แล้ว เรื่องราวเกี่ยวกับเจ้าเมืองแพร่ดูจะเลือนหายไปเกิแบหมด และข้อมูลที่ปรากฏในปัจจุบันส่วนใหญ่ก็เป็นคำบอกเล่าของผู้อาวุโส เอกสารข้างล่างนี้คือ ประกาศตั้งพระยาพิริยวิไชยเป็นเจ้าพิริยเทพวงษ์ ซึ่งลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาครับ
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|