เรือนไทย
ยินดีต้อนรับ ท่านผู้มาเยือน
กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
ข่าว: การแนบไฟล์ กรุณาใช้ชื่อไฟล์ภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ
หน้า: 1 ... 4 5 [6] 7 8 9
  พิมพ์  
อ่าน: 77341 ใบพระราชทานนามสกุล
piyasann
พาลี
****
ตอบ: 379


ความคิดเห็นที่ 75  เมื่อ 08 พ.ค. 12, 23:40

"หงสกุล" ดองไปมากับสุรนันทน์ จนแกะกันไม่ออก


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
piyasann
พาลี
****
ตอบ: 379


ความคิดเห็นที่ 76  เมื่อ 08 พ.ค. 12, 23:40

"หิญชีระนันทน์"


บันทึกการเข้า
piyasann
พาลี
****
ตอบ: 379


ความคิดเห็นที่ 77  เมื่อ 08 พ.ค. 12, 23:41

"หุตะเสวี"


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
piyasann
พาลี
****
ตอบ: 379


ความคิดเห็นที่ 78  เมื่อ 08 พ.ค. 12, 23:43

"อินทามระ"


บันทึกการเข้า
piyasann
พาลี
****
ตอบ: 379


ความคิดเห็นที่ 79  เมื่อ 08 พ.ค. 12, 23:44

"อิศรางกูร ณ อยุธยา" แผ่น ๑


บันทึกการเข้า
piyasann
พาลี
****
ตอบ: 379


ความคิดเห็นที่ 80  เมื่อ 08 พ.ค. 12, 23:44

"อิศรางกูร ณ อยุธยา" แผ่น ๒


บันทึกการเข้า
piyasann
พาลี
****
ตอบ: 379


ความคิดเห็นที่ 81  เมื่อ 08 พ.ค. 12, 23:45

"โรจนประดิษฐ์"


บันทึกการเข้า
art47
องคต
*****
ตอบ: 739


ความคิดเห็นที่ 82  เมื่อ 09 พ.ค. 12, 01:49

บุตรของพระยาพิชัยดาบหักได้เป็นพระยาเช่นเดียวกับบิดา มีราชทินนามว่าพระยาพิชัยเชียงแสน (โต)  
ลำดับเชื้อสายท่านได้ดังนี้

พระยาพิชัยดาบหัก
v
พระยาพิชัยเชียงแสน (โต)v


จะเป็นท่านเดียวกับผู้นี้หรือไม่หนอ  ฮืม

"ครั้นถึงวันกำหนด กองทัพไทยก็ยกเข้าตีค่ายพม่าแต่เพลา ๓ ยามทุกทัพ พระยากาวิละก็ยกกองทัพข้างในเมืองตีกระหนาบออกมา
พอรุ่งสว่าง กองทัพวังหน้าตีหักเข้าค่ายพม่าได้ แต่กองทัพวังหลวงเห็นปืนพม่ายังหนานัก ยังแอบคันนายิงกันอยู่กับพม่าหาบุกรุก
เข้าแหกค่ายพม่า ไม่ขณะนั้นพระยาพิไชยชื่อโต เป็นคนกล้าหาญ ร้องว่า "ไล่ฟันไล่แทงเถิด แตกดอก"
แล้วพระยาพิไชยก็นำหน้าเข้าไล่รุกพม่า นายทัพนายกองทั้งปวงจึงตามเข้าไป ก็ตีได้ค่ายพม่าหมดทุกค่าย พวกพม่าพากันแตกฉาน"

ถ้าเป็นบุตรพระยาพิชัยดาบหักจริงๆ แล้วไซร้

ก็ถือว่า "เชื้อไม่ทิ้งแถว" เลยนะขอรับ  ยิงฟันยิ้ม
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 83  เมื่อ 09 พ.ค. 12, 20:27

น่าจะใช่ นะคะ คุณ art47    ยิงฟันยิ้ม
ขอบคุณที่หารายละเอียดมาถ่ายทอดให้อ่านกัน

******************
นามสกุล มหายศปัณยา  (ในรายชื่อนามสกุลพระราชทาน พิมพ์ว่า มหายศปัญญา)
พระราชทานให้พระยาบุรีรัตน (น้อยหนู)  กรมการพิเศษจังหวัดแพร่  ปู่ชื่อพระยาบุรีรัตน (หนานมหายศ)  บิดาชื่อพระยาบุรีรัตน (หนานปัญญา)
สกุลนี้มีพระยา 3 ชั่วคน ได้รับพระราชทานราชทินนามเดียวกัน


บันทึกการเข้า
PAOPAI
อสุรผัด
*
ตอบ: 15


ความคิดเห็นที่ 84  เมื่อ 11 พ.ค. 12, 17:21

"ดุละลัมพะ"


บันทึกการเข้า
PAOPAI
อสุรผัด
*
ตอบ: 15


ความคิดเห็นที่ 85  เมื่อ 11 พ.ค. 12, 17:25

"พลางกูร"


บันทึกการเข้า
PAOPAI
อสุรผัด
*
ตอบ: 15


ความคิดเห็นที่ 86  เมื่อ 11 พ.ค. 12, 17:32

"โรจนวิภาต"


บันทึกการเข้า
PAOPAI
อสุรผัด
*
ตอบ: 15


ความคิดเห็นที่ 87  เมื่อ 11 พ.ค. 12, 17:35

"โอสถานนท์"


บันทึกการเข้า
PAOPAI
อสุรผัด
*
ตอบ: 15


ความคิดเห็นที่ 88  เมื่อ 11 พ.ค. 12, 17:43

สำเนาหนังสือขอพระราชทานนามสกุล "โอสถานนท์" (จากหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ พันตรีวิลาส โอสถานนท์)


บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 89  เมื่อ 11 พ.ค. 12, 17:45

จากค.ห. 85
^


หลวงผดุงวิทยาเสริม ต่อมาคือพระยาผดุงวิทยาเสริม (กำจัด พลางกูร)บุตรชายคนหนึ่งของท่านได้แก่พ.ต.จำกัด พลางกูร อดีตเสรีไทย

ท่านเกิดที่บ้านถนนสีลม จังหวัดพระนคร เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2426 เป็นบุตรนายเจิม และนางปริก พลางกูร มีน้องชายร่วมบิดามารดาเดียวกันอีก 2 คน คือ หลวงสันธานวิทยาสิทธิ์ (กำจาย พลางกูร) และ พระอัพภัณตราพาธภิศาล (กำจร พลางกูร) เริ่มเรียนหนังสือที่โรงเรียนวัดจักรวรรดิราชาวาส สอบไล่ได้ชั้น 2 ประโยค 3 จากโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ เมื่อ พ.ศ. 2444 ได้ประกาศนียบัตรครูมัธยมพิเศษ พ.ศ. 2446
พระยาผดุงวิทยาเสริมสมรสกับคุณหญิงเหรียญ (สกุลเดิม นิโครธานนท์) เมื่อ พ.ศ. 2456

    ปี พ.ศ. 2448 ได้รับทุนของกระทรวงธรรมการไปเรียนวิชาครู ณ ประเทศอังกฤษ เข้าศึกษา ณ วิทยาลัยฝึกหัดครูที่ตำบล Isleworth กรุงลอนดอน เป็นเวลา 4 ปี
    พ.ศ. 2452 สอนที่โรงเรียนเทพศิรินทร์
    พ.ศ. 2453 ย้ายมาสอนที่โรงเรียนปทุมคงคา
    พ.ศ. 2454 เป็นอาจารย์รอง โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์บ้านสมเด็จ
    พ.ศ. 2457 เป็นอาจารย์โรงเรียนข้าราชการพลเรือน แผนกคุรุศึกษา
    พ.ศ. 2460 รักษาการแทนอาจารย์ใหญ่แผนกคุรุศึกษา  โรงเรียนข้าราชการพลเรือน(ต่อมาคือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
    พ.ศ. 2461 เป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดครูวัดบวรนิเวศ
    พ.ศ. 2470 เป็นเจ้ากรมตำรา
    พ.ศ. 2471 เป็นเจ้ากรมสามัญศึกษา
    พ.ศ. 2473 รักษาการอธิบดีกรมศึกษาธิการ
    พ.ศ. 2475 กราบถวายบังคมลาออกจากราชการ
    รับพระราชทานบำนาญ รวมเวลาที่รับราชการ 32 ปี

เครื่องราชอิสสริยาภรณ์สูงสุดที่ได้รับพระราชทาน คือ ตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ

บุตรธิดาที่เกิดจากคุณหญิงเหรียญ
    พ.ต. จำกัด พลางกูร (ถึงแก่กรรม) สมรสกับนางฉลบชลัยย์ (มหานีรานนท์)
    ศ.ดร. กำแหง พลางกูร (ถึงแก่กรรม) สมรสกับ พ.อ. (พิเศษ) พญ.มยุรี (สุนทรเวช)
    ศ.พญ. คุณหญิงตระหนักจิต หะริณสุต (ถึงแก่กรรม) สมรสกับ ศ.นพ.จำลอง หะรินสุต
    ดร. บรรเจิด พลางกูร (ถึงแก่กรรม) สมรสกับนางสมลักษณ์ (ยมะสมิต)
    นางลำเพา สุทธเสถียร สมรสกับนายวิตต์ สุทธเสถียร
    พล.ต.เกรียงเดช พลางกูร (ถึงแก่กรรม) สมรสกับนางอรัว (เพ่งไพฑูรย์)
    รศ. สลวย กรุแก้ว (ถึงแก่กรรม) สมรสกับ ศ.อนันต์ กรุแก้ว

คุณหญิงเหรียญถึงแก่กรรมในปี พ.ศ. 2471 ต่อมาในปี พ.ศ. 2475 พระยาผดุงวิทยาเสริมได้สมรสกับคุณหญิงจรูญ ผดุงวิทยาเสริม (สกุลเดิม รสานนท์) มีบุตรธิดา คือ

    น.ส.จรวยรส พลางกูร (ถึงแก่กรรม)
    ศ.นพ.กัมปนาท พลางกูร (ถึงแก่กรรม) สมรสกับ ผศ.พญ.จิรา (อินทะนิยม)
    นางเสาวรส ทองปาน (ถึงแก่กรรม) สมรสกับ ศ.ดร.โสภิณ ทองปาน

พระยาผดุงวิทยาเสริมถึงแก่กรรมด้วยโรคความดันโลหิตสูง และอัมพาต เมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2497 ณ บ้านซอยร่วมฤดี ถนนเพลินจิต จังหวัดพระนคร และมีพิธีพระราชทานเพลิงศพ ณ วัดโสมนัสวิหาร เมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2499

จากวิกิพีเดีย
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 ... 4 5 [6] 7 8 9
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006, Simple Machines
Simple Audio Video Embedder

XHTML | CSS | Aero79 design by Bloc หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.056 วินาที กับ 19 คำสั่ง