เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
    
ตอบ: 33477
ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม
|
ความคิดเห็นที่ 60 เมื่อ 25 ก.พ. 12, 21:57
|
|
อาจารย์เหมท่านวาดให้สัปคับเตี้ยมาก ไม่ได้ตั้งบนหลังช้าง แต่คร่อมหลังแทน ขาออกแบบเหมือนตั้งบนพื้นราบ แต่ในภาพนี้ขาสัปคับทำหน้าที่หนีบด้านข้างของช้างไว้ ไม่มีนายกลางช้าง มีแต่อาวุธพาดบนสัปคับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
NAVARAT.C
|
ความคิดเห็นที่ 61 เมื่อ 25 ก.พ. 12, 22:06
|
|
นี่ก็ผลงานของอาจารย์เหม เวชกรครับ
เป็นภาพยุทธหัตถีระหว่างเจ้าอ้ายพระยาและเจ้ายี่พระยา
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
NAVARAT.C
|
ความคิดเห็นที่ 62 เมื่อ 25 ก.พ. 12, 22:19
|
|
การทรงช้างไปทำยุทธหัตถีก็เรื่องหนึ่ง การทรงช้างไปรบในกองทัพก็อีกเรื่องหนึ่ง
สมัยสุโขทัยมาอยุธยาตอนต้น การที่คู่ต่อสู้ทั้งสองฝ่ายจะชนช้างเพื่อหาจังหวะใช้อาวุธด้ามยาวประหัตประหารกันนั้น ดูจะเป็นเรื่องธรรมดาของนายทัพ เหมือนกับชาติอื่นเขารบกันตัวต่อตัวบนหลังม้า
ต่อเมื่ออาวุธมีพัฒนาการขึ้น ปืนไฟเข้ามาแทนที่ การรบบนหลังช้างแบบยุทธหัตถีก็หมดความจำเป็น การยุทธบนหลังช้างยังคงอยู่แต่เปลี่ยนรูปแบบไปเพื่อให้ทันยุคทันสมัย
รูปนี้เป็นยุทธหัตถีระหว่างขุนศรีอินทราทิตย์ ขุนรามคำแหงกับขุนสามชน ทั้งสองฝ่ายตั้งใจออกไปทำยุทธหัตถีกันก็ต้องเตรียมช้างไปอย่างในภาพ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
    
ตอบ: 33477
ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม
|
ความคิดเห็นที่ 63 เมื่อ 25 ก.พ. 12, 22:24
|
|
ภาพในค.ห. 61 ไม่มีกลางช้าง สะดุดตากับท่านั่งของควาญช้าง เหมือนนั่งคุกเข่า แต่เท้าสอดไว้ในเชือกเพื่อรั้งตัวไว้ นั่งท่านี้ จะถนัดในการบังคับช้างหรือคะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
NAVARAT.C
|
ความคิดเห็นที่ 64 เมื่อ 25 ก.พ. 12, 23:17
|
|
แหม๊ พ้มก็ไม่เคยลองนั่งซะด้วย (คุณเพ็ญไม่ต้องแก้ตัวสะกดนะครับ อ่านออกเสียงอย่างไรผมก็อุทานอย่างนั้น)
แต่บัดนี้ ขอนำภาพจากหนังสือ "ช้างราชพาหนะ" มาให้ชม ก็ไม่รู้ว่าท่านนั่งของท่านได้อย่างไร สงสัยก้นจะทากาวไว้
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
NAVARAT.C
|
ความคิดเห็นที่ 65 เมื่อ 25 ก.พ. 12, 23:18
|
|
คือภาพเขียนมันเป็นคนละเรื่องกับภาพถ่ายน่ะครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
    
ตอบ: 33477
ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม
|
ความคิดเห็นที่ 66 เมื่อ 25 ก.พ. 12, 23:45
|
|
ท่านั่งพับขา. ท่าเดียวกันทั้งภาพวาดและภาพถ่าย. น่ะเอง แต่ภาพวาด ศิลปินย้ายที่นั่งควาญท้ายไปอยู่ท้ายช้าง.
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
siamese
|
ความคิดเห็นที่ 67 เมื่อ 26 ก.พ. 12, 11:22
|
|
นั่งเกือบท้ายช้างก็นั่งได้ขอรับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
siamese
|
ความคิดเห็นที่ 68 เมื่อ 26 ก.พ. 12, 11:29
|
|
นั่งท้ายช้าง
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
siamese
|
ความคิดเห็นที่ 69 เมื่อ 26 ก.พ. 12, 11:31
|
|
สัปคับแบบไม่มีพนัก ใช้หวายรัดเหมือน seat belt
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
    
ตอบ: 33477
ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม
|
ความคิดเห็นที่ 70 เมื่อ 26 ก.พ. 12, 11:41
|
|
ท้ายช้างในรูปที่คุณ siamese นำมาให้ดู ทรงตัวเก่งมาก ไม่ต้องมีอะไรช่วยยึดไว้เลยหรือคะ ในการออกรบ ควาญท้ายช้างมีหน้าที่บังคับช้างด้วยขอช้าง แปลว่ามือข้างหนึ่งไม่ว่างแล้ว ถ้าช้างวิ่ง หรือชนช้างกับช้างข้าศึก แกจะเหนี่ยวตัวเองไว้บนท้ายช้างได้ยังไง หรือว่าเลี้ยงตัวเอาไว้ด้วยความชำนาญอย่างเดียว
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
    
ตอบ: 33477
ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม
|
ความคิดเห็นที่ 71 เมื่อ 29 ก.พ. 12, 19:44
|
|
นายกลางช้างที่ไม่มีสัปคับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
    
ตอบ: 33477
ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม
|
ความคิดเห็นที่ 72 เมื่อ 29 ก.พ. 12, 19:45
|
|
นายกลางช้างที่นั่งบนสัปคับเสียบอาวุธ ถือแพนหางนกยูง แต่ไม่มีฉัตร
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
    
ตอบ: 33477
ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม
|
ความคิดเห็นที่ 73 เมื่อ 29 ก.พ. 12, 19:47
|
|
นายกลางช้างนั่งบนสัปคับ ถือแพนหางนกยูง แต่ไม่มีอาวุธ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
    
ตอบ: 33477
ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม
|
ความคิดเห็นที่ 74 เมื่อ 29 ก.พ. 12, 19:51
|
|
รูปนี้นายกลางช้างนั่งบนสัปคับเสียบอาวุธ มีแพนหางนกยูง แต่ไม่มีท้ายช้าง
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|