เรือนไทย
ยินดีต้อนรับ ท่านผู้มาเยือน
กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
ข่าว: การแนบไฟล์ กรุณาใช้ชื่อไฟล์ภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ
หน้า: 1 ... 10 11 [12] 13 14 ... 25
  พิมพ์  
อ่าน: 71522 น้ำท่วมกี่ครั้งๆ คนไทยก็ไม่เคยหลาบเคยจำ
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33585

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 165  เมื่อ 24 ต.ค. 11, 10:59

กำลังชื่นใจกับน้ำใจเสียสละของคนหนุ่มสาว ก็หดหู่ลงไปอีก  เมื่อเกิดเหตุการณ์ที่ตรงกับหัวข้อกระทู้นี้ ว่าคนไทยไม่เคยหลาบเคยจำจริงๆ


บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 166  เมื่อ 24 ต.ค. 11, 11:11

^
โลกมันก็เป็นของมันอย่างนั้นแล
.
.
อีกอย่างหนึ่งที่ต้องพิจารณากันต่อไปก็คือ ประตูกันน้ำเช่นนี้ที่จะต้องสร้าง ณ ที่ใดที่หนึ่งทางปากแม่น้ำที่น้ำจะใหลลงทะเล

ประตูแบบนี้จะปกติเปิดไว้ตลอดเพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ดั้งเดิม แต่เมื่อถึงยามคับขันจะเปิดและปิดตามเวลาที่จำเป็น
เช่น ตอนน้ำท่วมและน้ำทะเลหนุนสูง จะปิดไม่ให้น้ำเค็มไหลเข้ามาผสมร่วมกับน้ำท่วมในเมือง และเปิดตอนน้ำลง เพื่อให้น้ำส่วนเกินไหลลงทะเลได้

ดัชท์เป็นผู้คิดต้นแบบของประตูเช่นนี้ และอังกฤษเอาไปทำที่ปากแม่น้ำเทมส์ เพื่อป้องกันลอนดอน จากน้ำท่วมและ storm surge


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
POJA
พาลี
****
ตอบ: 298


ความคิดเห็นที่ 167  เมื่อ 24 ต.ค. 11, 11:26

เราต้องจัดการกับอะไรคะ

จัดการน้ำ
จัดการคน
จัดการผู้นำคน
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33585

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 168  เมื่อ 24 ต.ค. 11, 11:38

ถูกทุกข้อ


บันทึกการเข้า
POJA
พาลี
****
ตอบ: 298


ความคิดเห็นที่ 169  เมื่อ 24 ต.ค. 11, 11:55

จัดการคนเลือกผู้นำด้วยไหมคะ

 แลบลิ้น
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33585

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 170  เมื่อ 24 ต.ค. 11, 12:04

ขั้นแรก ตามหาคนหายก่อนดีกว่าค่ะ
ใครเห็นช่วยส่งข่าวด้วย    มีประชาชนจำนวนมากคิดถึง



บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 171  เมื่อ 24 ต.ค. 11, 12:20

เอ้า...พอหอมปากหอมคอแล้ว ...ต่อครับ

ประตูกั้นแม่น้ำของแม่น้ำเทมส์ ลอนดอน


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 172  เมื่อ 24 ต.ค. 11, 20:21

บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 173  เมื่อ 25 ต.ค. 11, 08:04

วันนี้ผมจะเอาพนังกั้นน้ำสำเร็จรูปที่ออกแบบได้ดีแบบหนึ่งเอามาให้ดูครับ


บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 174  เมื่อ 25 ต.ค. 11, 08:11

คือว่า
บ้านเราน้ำท่วมกี่ปีกี่ชาติก็ทำเป็นแต่เอากระสอบทรายมากั้น การกั้นด้วยกระสอบทรายเป็นงานหนัก ใช้แรงงานเยอะ และได้ผลในระดับหนึ่งที่น้ำไม่แรงหรือสูงจนเกินไปเท่านั้น แต่ที่แย่ที่สุดคือหลังน้ำท่วม งานล้างทำความสะอาดเอาทรายที่แตกท่วมถนน ท่วมท่อ แทนน้ำออกไปนี่ซิครับ ยากลำบากกว่าตอนเอามากั้นมาก

ทั้งๆที่มีประสพการณ์เรื่องน้ำท่วมทุกปี ไม่จังหวัดนี้หรือจังหวัดโน้น คนไทยก็ไม่รู้จักคิดหาวิธีใหม่ๆมาทำแนวป้องกันน้ำที่จะใช้ชั่วคราว เอะอะก็จะทำแต่พนังคอนกรีตถาวร ทั้งๆที่ๆตรงนั้นมันอาจจะไม่ท่วมทุกปี
แต่เอาเถอะจะทำพนังคอนกรีตก็ทำไปผมไม่ว่า แต่ก็ต้องคิดทำพนังแบบน๊อคดาวน์ไว้ใช้ในที่จำเป็นอื่นๆบ้าง

ผมเอาตัวอย่างของเขามาให้ดู


บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 175  เมื่อ 25 ต.ค. 11, 08:12

กั้นรอบชุมชนก็ได้


บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 176  เมื่อ 25 ต.ค. 11, 08:13

กั้นพื้นที่เดี่ยวๆก็ได้


บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 177  เมื่อ 25 ต.ค. 11, 08:14

กั้นไปตามแนวถนนก็ได้


บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 178  เมื่อ 25 ต.ค. 11, 08:17

พนังแบบนี้ทำไม่ยาก ไม่ต้องใช้กรรมวิธีการผลิตอันสลับซับซ้อน ยังไม่ใช้หรือใช้เสร็จก็เอาเก็บเข้าโกดังไว้ ข่าวน้ำจะมาที่ไหนก็ขนไปประกอบ
 
องค์ประกอบที่ใหญ่ๆก็มี โครงรับน้ำหนักที่ทำด้วยโลหะปลอดสนิม แผงผนังถ่ายน้ำหนักน้ำ และผ้าพลาสติกกันน้ำ และส่วนรายละเอียดปลีกย่อยในช่วงรอยต่อ หรือการติดตั้งบนพื้นต่างระดับ


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 179  เมื่อ 25 ต.ค. 11, 08:17

Diagram


บันทึกการเข้า
หน้า: 1 ... 10 11 [12] 13 14 ... 25
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006, Simple Machines
Simple Audio Video Embedder

XHTML | CSS | Aero79 design by Bloc หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.043 วินาที กับ 19 คำสั่ง