เรือนไทย
ยินดีต้อนรับ ท่านผู้มาเยือน
กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
ข่าว: การแนบไฟล์ กรุณาใช้ชื่อไฟล์ภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ
หน้า: 1 ... 12 13 [14] 15 16 ... 18
  พิมพ์  
อ่าน: 99382 พรรณไม้จุฬาฯ ในอดีต
siamese
หนุมาน
********
ตอบ: 7165


หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง


ความคิดเห็นที่ 195  เมื่อ 24 เม.ย. 11, 19:55

ชี้ตำแหน่งผิด  อายจัง  งั้นฝานภาพตึกจามจุรี ๒ ไว้ให้เทียบครับ
ตึกพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ในอดีต จึงเป็นตึกจามจุรี ๑ ในปัจจุบันไช่ไหมครับ

ครั้งนี้ไม่พลาดอีกแล้ว  ตกใจ ดูจากภาพเก่านั้นถ่ายจากขวาไปซ้าย บนหลังคาอาคารเป็นแนวต่อเนื่องกับทางเดินโถงอาคาร จึงสมควรเป็น "จามจุรี ๒"  แต่ถ้าถ่ายในมุมเดียวกันที่จามจุรี ๑ จะไม่เห็นแนวต่อเนื่องของอาคาร


บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
********
ตอบ: 7165


หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง


ความคิดเห็นที่ 196  เมื่อ 24 เม.ย. 11, 19:58

ตามนี้ครับ


บันทึกการเข้า
bthawees
มัจฉานุ
**
ตอบ: 65


ความคิดเห็นที่ 197  เมื่อ 24 เม.ย. 11, 20:07

ตามนี้ครับ
ตกลงเป็นตึกจามจุรี ๒ ในปัจจุบัน ขอบคุณครับ
บันทึกการเข้า
bthawees
มัจฉานุ
**
ตอบ: 65


ความคิดเห็นที่ 198  เมื่อ 24 เม.ย. 11, 20:10

ชี้ตำแหน่งผิด  อายจัง  งั้นฝานภาพตึกจามจุรี ๒ ไว้ให้เทียบครับ
ตึกพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ในอดีต จึงเป็นตึกจามจุรี ๑ ในปัจจุบันไช่ไหมครับ

ครั้งนี้ไม่พลาดอีกแล้ว  ตกใจ ดูจากภาพเก่านั้นถ่ายจากขวาไปซ้าย บนหลังคาอาคารเป็นแนวต่อเนื่องกับทางเดินโถงอาคาร จึงสมควรเป็น "จามจุรี ๒"  แต่ถ้าถ่ายในมุมเดียวกันที่จามจุรี ๑ จะไม่เห็นแนวต่อเนื่องของอาคาร
ภาพนี้ พ.ศ. ใดครับ ยังไม่ได้สร้างทางเชื่อมระหว่างจามจุรี ๑ และจามจุรี ๒
บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
********
ตอบ: 7165


หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง


ความคิดเห็นที่ 199  เมื่อ 24 เม.ย. 11, 20:18

ชี้ตำแหน่งผิด  อายจัง  งั้นฝานภาพตึกจามจุรี ๒ ไว้ให้เทียบครับ
ตึกพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ในอดีต จึงเป็นตึกจามจุรี ๑ ในปัจจุบันไช่ไหมครับ

ครั้งนี้ไม่พลาดอีกแล้ว  ตกใจ ดูจากภาพเก่านั้นถ่ายจากขวาไปซ้าย บนหลังคาอาคารเป็นแนวต่อเนื่องกับทางเดินโถงอาคาร จึงสมควรเป็น "จามจุรี ๒"  แต่ถ้าถ่ายในมุมเดียวกันที่จามจุรี ๑ จะไม่เห็นแนวต่อเนื่องของอาคาร
ภาพนี้ พ.ศ. ใดครับ ยังไม่ได้สร้างทางเชื่อมระหว่างจามจุรี ๑ และจามจุรี ๒

ต้นไม้บังทางเดินครับ ภาพนี้จาก google earth คาดว่าประมาณ 1-2 ปีที่ผ่านมา
บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
********
ตอบ: 7165


หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง


ความคิดเห็นที่ 200  เมื่อ 24 เม.ย. 11, 21:52

ข้อมูลตึกจามจุรี ๑ และ ๒ ซึ่งสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๓


บันทึกการเข้า
bthawees
มัจฉานุ
**
ตอบ: 65


ความคิดเห็นที่ 201  เมื่อ 25 เม.ย. 11, 08:30

ข้อมูลตึกจามจุรี ๑ และ ๒ ซึ่งสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๓
ขอบคุณมากครับ คุณ siamese พอจะบอกแหล่งข้อมูลนี้ได้ไหมครับ ผมเข้าใจว่าปีพ.ศ. ๒๔๘๓ คือปีที่เริ่มสร้าง สร้างเสร็จปี พ.ศ. ๒๔๘๔ จึงมีบันทึกไว้เหนือประตูทางเข้าว่าปี พ.ศ. ๒๔๘๔ แต่ขอมูลจากเอกสารต่าง ๆ ของจุฬา ฯ ซึ่งได้มาจากหอประวัติจุฬาฯ ระบุว่า จามจุรี ๒ สร้างในปี พ.ศ. ๒๔๘๔ และ จามจุรี ๑ สร้างในปี พ.ศ. ๒๕๑๐ ไม่ทราบว่าตัวเลขปี พ.ศ. ๒๕๑๐ เพี้ยนมาจากไหน เป็นไปได้ไหมครับว่า สร้างทางเดินเชื่อมในปี พ.ศ. ๒๕๑๐
 


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
********
ตอบ: 7165


หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง


ความคิดเห็นที่ 202  เมื่อ 25 เม.ย. 11, 08:57

ข้อมูลตึกจามจุรี ๑ และ ๒ ซึ่งสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๓
ขอบคุณมากครับ คุณ siamese พอจะบอกแหล่งข้อมูลนี้ได้ไหมครับ ผมเข้าใจว่าปีพ.ศ. ๒๔๘๓ คือปีที่เริ่มสร้าง สร้างเสร็จปี พ.ศ. ๒๔๘๔ จึงมีบันทึกไว้เหนือประตูทางเข้าว่าปี พ.ศ. ๒๔๘๔ แต่ขอมูลจากเอกสารต่าง ๆ ของจุฬา ฯ ซึ่งได้มาจากหอประวัติจุฬาฯ ระบุว่า จามจุรี ๒ สร้างในปี พ.ศ. ๒๔๘๔ และ จามจุรี ๑ สร้างในปี พ.ศ. ๒๕๑๐ ไม่ทราบว่าตัวเลขปี พ.ศ. ๒๕๑๐ เพี้ยนมาจากไหน เป็นไปได้ไหมครับว่า สร้างทางเดินเชื่อมในปี พ.ศ. ๒๕๑๐
 

ถ้าข้อมูลเป็นดังนั้นก็น่าจะสร้างตึกจามจุรีใน ๑ ปี ซึ่งปีที่สร้างเสร็จปี ๒๔๘๔ เพื่อเป็นประจักษ์ถึงว่า ตึกเริ่มเปิดให้ใช้บริการได้ตั้งแต่ปีดังกล่าว และจากข้อมูล รูปแบบสถาปัตยกรรม และเทคนิคการก่อสร้าง ผนัง พื้น วัสดุของทั้งสองอาคารอยู่ในรุ่นเดียวกัน นั่นหมายถึงสร้างพร้อมกันครับ
บันทึกการเข้า
bthawees
มัจฉานุ
**
ตอบ: 65


ความคิดเห็นที่ 203  เมื่อ 25 เม.ย. 11, 11:28

ให้ อ.ทวีศักดิ์ ไว้ดูแนวต้นไม้จามจุรี และกลุ่มไม้ต่างๆ สมัย พ.ศ. ๒๔๙๘ ครับ

บริเวณข้างหอประชุมใหญ่ ก่อนบันไดทางขึ้น จะมีต้นไม้ใหญ่ น่าจะเป็นสนทะเล
ผมได้ข้อมูลมาแล้วครับว่า หอประชุมมีการซ่อมใหญ่ในปี พ.ศ. 2506 ขยายด้านข้าง ไม่มีบันไดด้านนอก ตัดสนทะเลทั้ง
สองข้าง
บันทึกการเข้า
bthawees
มัจฉานุ
**
ตอบ: 65


ความคิดเห็นที่ 204  เมื่อ 25 เม.ย. 11, 21:19

^
ถ้าเป็นตึกนี้ สมัยผมเขาเรียกว่า "ตึกบรรยเวกษ์" นะครับ
บรรยเวกษ์ คืออาจารย์ผู้ปกครองของมหาวิทยาลัยนั่นแหละ แต่เรียกให้ดูหญ่ายมากๆ เพราะจะได้เหมาะกับคนใหญ่คนโต

อดีตคณะบดีสถาปัตย์ ศาตราจารย์ ม.ร.ว.แหลมฉาน หัสดินทร ท่านอยู่ในตำแหน่งนานมาก แต่สุดท้ายเขาแต่งตั้งให้ท่านไปเป็นบรรยเวกษ์ ปีเดียวกับที่นิสิตจุฬาเดินขบวนขับไล่อธิการบดีของตนเองในข้อหาคอรัปชั่น ท่านอาจารย์ของผมเป็นเดือดเป็นร้อนมาก เพราะท่านอธิการบดีเป็นถึงรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีมหาดไทยอยู่ด้วย ผมจะไม่ขอเอ่ยชื่อละนะครับ เมื่อพยายามห้ามเท่าไหร่ก็ไม่มีใครฟังแม้กระทั่งลูกศิษย์คณะสถาปัตย์เอง ไปร่วมชุมนุมไฮปาร์คกันที่หน้าหอประชุมจุฬาทุกคณะรวมกันร่วมพันคน

และสุดท้ายก็เป็นเชื้อให้ไม่นานต่อมา ก็ขยายผลไปจนเกิดเหตุการณ์ ๑๔ ตุลาขึ้นจนได้
ถึงตอนนั้น บรรเวกษ์ท่านได้พิจารณาตนเอง ลาออกจากตำแหน่งไปแล้ว
พอจะทราบเกี่ยวกับการตัดต้นจามจุรีและแคฝรั่งบริเวณหน้าประตูใหญ่ในช่วงเวลานั้นไหมครับ
บันทึกการเข้า
bthawees
มัจฉานุ
**
ตอบ: 65


ความคิดเห็นที่ 205  เมื่อ 25 เม.ย. 11, 21:36

ข้อมูลตึกจามจุรี ๑ และ ๒ ซึ่งสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๓
ถ้าข้อมูลเป็นดังนั้นก็น่าจะสร้างตึกจามจุรีใน ๑ ปี ซึ่งปีที่สร้างเสร็จปี ๒๔๘๔ เพื่อเป็นประจักษ์ถึงว่า ตึกเริ่มเปิดให้ใช้บริการได้ตั้งแต่ปีดังกล่าว และจากข้อมูล รูปแบบสถาปัตยกรรม และเทคนิคการก่อสร้าง ผนัง พื้น วัสดุของทั้งสองอาคารอยู่ในรุ่นเดียวกัน นั่นหมายถึงสร้างพร้อมกันครับ
ผมตั้งสมมติฐานเอาไว้ว่าต้นจามจุรีที่มีมากในจุฬาฯ ก่อนที่จะสร้างหอประชุมจุฬาฯ  เกิดจากการกระจายพันธุ์ของฝักจามจุรีที่ปลูกสองข้างของถนนพญาไทตั้งแต่ปี   พ.ศ. ๒๔๕๒ คุณ siamese พอจะมีภาพถนนพญาไทเก่า ๆ ที่มีจามจุรีและคูน้ำสองข้างถนนไหมครับ
บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
********
ตอบ: 7165


หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง


ความคิดเห็นที่ 206  เมื่อ 25 เม.ย. 11, 22:06

ข้อมูลตึกจามจุรี ๑ และ ๒ ซึ่งสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๓
ถ้าข้อมูลเป็นดังนั้นก็น่าจะสร้างตึกจามจุรีใน ๑ ปี ซึ่งปีที่สร้างเสร็จปี ๒๔๘๔ เพื่อเป็นประจักษ์ถึงว่า ตึกเริ่มเปิดให้ใช้บริการได้ตั้งแต่ปีดังกล่าว และจากข้อมูล รูปแบบสถาปัตยกรรม และเทคนิคการก่อสร้าง ผนัง พื้น วัสดุของทั้งสองอาคารอยู่ในรุ่นเดียวกัน นั่นหมายถึงสร้างพร้อมกันครับ
ผมตั้งสมมติฐานเอาไว้ว่าต้นจามจุรีที่มีมากในจุฬาฯ ก่อนที่จะสร้างหอประชุมจุฬาฯ  เกิดจากการกระจายพันธุ์ของฝักจามจุรีที่ปลูกสองข้างของถนนพญาไทตั้งแต่ปี   พ.ศ. ๒๔๕๒ คุณ siamese พอจะมีภาพถนนพญาไทเก่า ๆ ที่มีจามจุรีและคูน้ำสองข้างถนนไหมครับ

ถนนพญาไท ปลูกต้นไม้ไว้ ๓ จุด คือ บริเวณสองข้างทาง และบริเวณเกาะกลาง - ถนนพญาไทถุกตัดขึ้นไม่มีคลองครับ


บันทึกการเข้า
bthawees
มัจฉานุ
**
ตอบ: 65


ความคิดเห็นที่ 207  เมื่อ 26 เม.ย. 11, 06:05

ข้อมูลตึกจามจุรี ๑ และ ๒ ซึ่งสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๓
ถ้าข้อมูลเป็นดังนั้นก็น่าจะสร้างตึกจามจุรีใน ๑ ปี ซึ่งปีที่สร้างเสร็จปี ๒๔๘๔ เพื่อเป็นประจักษ์ถึงว่า ตึกเริ่มเปิดให้ใช้บริการได้ตั้งแต่ปีดังกล่าว และจากข้อมูล รูปแบบสถาปัตยกรรม และเทคนิคการก่อสร้าง ผนัง พื้น วัสดุของทั้งสองอาคารอยู่ในรุ่นเดียวกัน นั่นหมายถึงสร้างพร้อมกันครับ
ผมตั้งสมมติฐานเอาไว้ว่าต้นจามจุรีที่มีมากในจุฬาฯ ก่อนที่จะสร้างหอประชุมจุฬาฯ  เกิดจากการกระจายพันธุ์ของฝักจามจุรีที่ปลูกสองข้างของถนนพญาไทตั้งแต่ปี   พ.ศ. ๒๔๕๒ คุณ siamese พอจะมีภาพถนนพญาไทเก่า ๆ ที่มีจามจุรีและคูน้ำสองข้างถนนไหมครับ
ถนนพญาไท ปลูกต้นไม้ไว้ ๓ จุด คือ บริเวณสองข้างทาง และบริเวณเกาะกลาง - ถนนพญาไทถุกตัดขึ้นไม่มีคลองครับ
เป็นแค่คูน้ำสองข้างนะครับ และมีสพานข้ามเช่นสพานอุเทนถวาย
บันทึกการเข้า
bthawees
มัจฉานุ
**
ตอบ: 65


ความคิดเห็นที่ 208  เมื่อ 27 เม.ย. 11, 08:00

ให้ อ.ทวีศักดิ์ ไว้ดูแนวต้นไม้จามจุรี และกลุ่มไม้ต่างๆ สมัย พ.ศ. ๒๔๙๘ ครับ

บริเวณข้างหอประชุมใหญ่ ก่อนบันไดทางขึ้น จะมีต้นไม้ใหญ่ น่าจะเป็นสนทะเล
ผมได้แผนที่จุฬาฯ สำรวจปี 2468 เห็นถนนตัดจากถนนสนามม้าตรงไปออกถนนพญาไท เห็นตามแนวถนนทำเครื่องหมายว่าเป็นต้นไม้ที่ปลูกอยู่ไช่ไหมครับ


บันทึกการเข้า
bthawees
มัจฉานุ
**
ตอบ: 65


ความคิดเห็นที่ 209  เมื่อ 27 เม.ย. 11, 08:24

ข้อมูลตึกจามจุรี ๑ และ ๒ ซึ่งสร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๓
ขอบคุณมากครับ คุณ siamese พอจะบอกแหล่งข้อมูลนี้ได้ไหมครับ ผมเข้าใจว่าปีพ.ศ. ๒๔๘๓ คือปีที่เริ่มสร้าง สร้างเสร็จปี พ.ศ. ๒๔๘๔ จึงมีบันทึกไว้เหนือประตูทางเข้าว่าปี พ.ศ. ๒๔๘๔ แต่ขอมูลจากเอกสารต่าง ๆ ของจุฬา ฯ ซึ่งได้มาจากหอประวัติจุฬาฯ ระบุว่า จามจุรี ๒ สร้างในปี พ.ศ. ๒๔๘๔ และ จามจุรี ๑ สร้างในปี พ.ศ. ๒๕๑๐ ไม่ทราบว่าตัวเลขปี พ.ศ. ๒๕๑๐ เพี้ยนมาจากไหน เป็นไปได้ไหมครับว่า สร้างทางเดินเชื่อมในปี พ.ศ. ๒๕๑๐
 
ช่วยดูหน่อยครับว่าเป็นภาพประมาณปี พ.ศ. ใด และที่ลูกศรสีแดงชี้อยู่คืออาคารอะไรครับ


คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 ... 12 13 [14] 15 16 ... 18
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006, Simple Machines
Simple Audio Video Embedder

XHTML | CSS | Aero79 design by Bloc หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.071 วินาที กับ 20 คำสั่ง