เรือนไทย
ยินดีต้อนรับ ท่านผู้มาเยือน
กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
ข่าว: การแนบไฟล์ กรุณาใช้ชื่อไฟล์ภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ
หน้า: 1 ... 18 19 [20] 21 22 ... 26
  พิมพ์  
อ่าน: 168025 ละครในราชสำนักสยามไปสู่ราชสำนักเขมร
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 285  เมื่อ 10 เม.ย. 11, 15:12

^
ดีที่ได้เห็นตรงนี้ครับ ไม่เคยเห็นมาก่อน
ที่เขียนไปก็มาจากสมมติฐานของผมเอง

คิดอย่างไร ก็เขียนไปอย่างนั้น
ขอบคุณครับ
บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
********
ตอบ: 7165


หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง


ความคิดเห็นที่ 286  เมื่อ 10 เม.ย. 11, 15:14

เมื่อเราถูกย่ำยีทางวัฒนธรรมศิลปะนาฏศิลป์ไทยเอาไปประยุกต์แบบไม่มีหลักการแล้ว คนไทยเองควรจะต้องหันมาสนใจให้มากขึ้น ส่วนของทางกัมพูชานั้น เขาเคยสูญเสียจิตวิญญาณด้านนาฏศิลป์ไป ในเมื่อมีการรื้อฟื้นและกำเนิดใหม่โดยคงเอกลักษณ์แบบโบราณแล้ว เขาต้องรักและหวงแหน และต้องการสร้างความโดดเด่นมิให้เหมือนประเทศใดๆ และที่สำคัญไม่ถูกฝรั่งเอาไปย่ำยีอีกด้วย
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 287  เมื่อ 10 เม.ย. 11, 15:21

อ้างถึง
The ballet has regained much of its former splendour but still faces numerous difficulties, such as a lack of funding and suitable performance spaces, competition from modern media and the risk of becoming a mere tourist attraction.

ตรงนี้หรือเปล่า เป็นเหตุผลข้อหนึ่งที่ยูเนสโกยื่นมือมาอนุรักษ์ระบำเขมรไว้เป็นมรดกโลก   เพราะเห็นว่าขาดทุนสนับสนุน  ไม่มีสถานที่ให้แสดง  ซ้ำยังโดนเบียดเนื้อที่ความสนใจ  โดยสื่อยุคใหม่(ประเภทหนังละครทีวี)   จนในที่สุดเกรงว่าเหลือเป็นแค่รำให้นักท่องเที่ยวดูเท่านั้น
เขาก็เลยยื่นมือมาช่วยอนุรักษ์ไว้ไม่ให้เสื่อมสูญ    ทำนองเดียวกับหลวงพระบางเมืองมรดกโลก

พอมียูเนสโกสนับสนุน  นาฏศิลป์หลวงหรือรำพระราชา ก็เฟื่องฟู
บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
********
ตอบ: 7165


หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง


ความคิดเห็นที่ 288  เมื่อ 10 เม.ย. 11, 15:22

เข้าไปค้นหา Intangible Heritage Lists หรือ รายการมรดกที่จับต้องไม่ได้ (พวกการรำ ดนตรี ศิลปะ) ช่อง Country ไม่พบ "Thailand" ไม่ทราบว่าหน่วยงานราชการของไทย ทำอะไรกันอยู่  ขยิบตา
http://www.unesco.org/culture/ich/index.php?lg=en&pg=00011#results


บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 289  เมื่อ 10 เม.ย. 11, 15:25

เอ่อ....



The answer, my friend, is blowin' in the wind
The answer is blowin' in the wind
บันทึกการเข้า
siamese
หนุมาน
********
ตอบ: 7165


หนุ่มรัตนะกับภูเขาทอง


ความคิดเห็นที่ 290  เมื่อ 10 เม.ย. 11, 15:30

^
ดังว่า "กว่าเราจะรู้คุณค่าของสิ่งนั้น ก็เมื่อเราได้สูญเสียมันไปแล้ว"  ลังเล
บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 291  เมื่อ 10 เม.ย. 11, 19:31

ไปเช็คว่ามรดกโลกประเภท oral and intangible  World Heritage มีอะไรบ้าง  พบว่ามียาวเหยียดหลายสิบประเทศ    ที่ไม่รู้จักก็ข้ามไป 
มาเจออะไรอีกอย่างที่อยากจะร้องโอ๊ยออกมา  ก็คือ Sbek Thom ของเขมรได้เป็นมรดกโลกด้วย

Sbek Thom คืออะไร เชิญดูในคลิปนะคะ




บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 292  เมื่อ 10 เม.ย. 11, 20:16


สุจิตต์ วงษ์เทศ เขียนไว้ว่า หนังใหญ่เข้าใจว่าได้รับอิทธิพลมาจากเขมร

ตามนี้เลยครับ ย่อหน้าสุดท้าย

http://www.lek-prapai.org/watch.php?id=21



บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 293  เมื่อ 10 เม.ย. 11, 20:38

การได้เป็นมรดกโลก ผมเข้าใจว่า ไม่ใช่การจดลิขสิทธิ์ ใครเอาไปแสดงที่ไหนไม่ได้นอกจากฉัน หรือต้องจ่ายเงินให้ฉัน

ข้อดีของการเป็นมรดกโลกก็คือ การที่จะได้รับเงินงบประมาณของยูเนสโกมาทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมนั้นให้ดำรงอยู่ นอกเหนือไปจากงบประมาณของรัฐบาลประเทศนั้นๆจะจัดให้ ซึ่งมักจะไม่พอเพราะต้องเกลี่ยไปใช้สำหรับอย่างอื่นด้วย

บางอย่างของไทย ถ้าพูดถึงคุณค่าก็คู่ควรระดับโลก พูดถึงความโดดเด่นพิเศษ ก็ล้ำเลิศกว่าใคร ไม่มีข้อกังขาว่าเราได้รับอิทธิพลมาจากชาติที่เก่าแก่กว่าเราชาติใดหรือไม่ เช่น กระบวนเรือพระราชพิธี ในการเสด็จพยุหยาตราโดยชลมารค เป็นต้น
แต่นั่นเรารักษาของเราเองได้ โดยไม่จำเป็นต้องไปให้ผู้ชำนาญการชาติอื่นเข้ามาบอกว่าควรจะทำอะไรต่ออะไร ในอันที่จะได้เงินสนับสนุนจากเขาต่อไป

 

บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 294  เมื่อ 10 เม.ย. 11, 20:48

ของ...เขา...หมด...เลย...
 ร้องไห้



บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 295  เมื่อ 10 เม.ย. 11, 21:09

เพื่อความสบายใจน่ะครับ อยากให้ดูว่าชาติเหล่านี้ก็มีหนังตะลุงเหมือนกัน
ทำไมยูเนสโกจึงยอมรับของเขมร

ชาติแรก อินเดียใต้ เล่นเรื่องรามายาณะมานานเท่าไหร่ไม่ทราบ เดี๋ยวนี้ยังเล่นอยู่




บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 296  เมื่อ 10 เม.ย. 11, 21:12

อินโดเนเซีย ทั้งชวาและบาหลี
โดยเฉพาะที่บาหลี เล่นเรื่องรามายาณะเหมือนกัน





บันทึกการเข้า
NAVARAT.C
หนุมาน
********
ตอบ: 11307


ความคิดเห็นที่ 297  เมื่อ 10 เม.ย. 11, 21:28

เขมรประดิษฐ์สะเบกธมขึ้นโดยรับอิทธิพลจากอินเดีย
ยูเนสโกก็ยอมรับตรงนี้ ทำให้เขมรจะสามารถมีทุนอุดหนุนให้สืบวัฒนธรรมนี้ต่อไปได้นะครับ ผมว่า


บันทึกการเข้า
เทาชมพู
เจ้าเรือน
หนุมาน
*****
ตอบ: 33584

ดูแลเรือนไทย วิชาการ.คอม


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 298  เมื่อ 10 เม.ย. 11, 21:33

ก็คงงั้นละค่ะ  เห็นด้วยกับคุณนวรัตน เศร้า
ไปเจอรูป   เลยเอามาให้ดู  ประกอบค.ห.


บันทึกการเข้า
เพ็ญชมพู
หนุมาน
********
ตอบ: 12600



ความคิดเห็นที่ 299  เมื่อ 10 เม.ย. 11, 21:38

UNESCO เขาชื่นชม และลงท้ายด้วยความเป็นห่วงเช่นเดียวกับ The Royal Ballet of Cambodia

http://www.unesco.org/culture/intangible-heritage/09apa_uk.htm

Sbek Thom,
Kmer Shadow Theater


Sbek Thom is a Khmer shadow theatre featuring two-metre high, non-articulated puppets made of leather openwork. Dating from before the Angkorian period, the Sbek Thom, along with the royal ballet and mask theatre, is considered sacred. Performances, dedicated to the divinities, could only take place on specific occasions, three or four times a year, such as the Khmer new year, the King’s birthday or the veneration of famous people. The shadow theatre was weakened after the fall of Angkor in the last century. However, it has evolved beyond a ceremonial activity to become an artistic form, while retaining its ritualistic dimension.

The puppets are made from a single piece of leather in a special ceremony for each character. Shiva and Vishnu, for example, are cut from the hide of a cow, which died accidentally or naturally and are finished in a single day following a specific ritual. The hides are dyed with a solution made from the bark of the Kandaol. The artisan draws the desired figure on the tanned hide, then cuts it out and paints it before attaching it to two bamboo sticks which enable the dancer to control the puppet.

The performances traditionally take place at night in the open air beside a rice-field or pagoda. A large white backdrop is held between two tall bamboo screens in front of a large fire or, nowadays, projectors. The shadow of the puppet’s silhouette is projected onto this white screen. The animator brings the puppet to life with precise and specific dance steps that produce a range of movements. The performance is accompanied by an orchestra and two narrators. Performances from the Reamker, the Khmer version of the Ramayana, might last several nights and require up to 160 puppets for a single session.

The Sbek Thom was almost wiped out under the repressive Khmer Rouge regime but since 1979 has undergone a revival thanks to the few surviving artists. The collections of puppets were mostly destroyed but are gradually being re-made and troupes are being re-formed. So far, three shadow theatres have managed to rise from their ashes but they are terribly short of resources and opportunities to perform. In addition, the transmission of knowledge, techniques and know-how, especially relating to the manufacture of the puppets, is no longer ensured.

 ยิงฟันยิ้ม


 
 
 
   

บันทึกการเข้า
หน้า: 1 ... 18 19 [20] 21 22 ... 26
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006, Simple Machines
Simple Audio Video Embedder

XHTML | CSS | Aero79 design by Bloc หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.042 วินาที กับ 20 คำสั่ง