yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 30 เมื่อ 27 มี.ค. 10, 06:22
|
|
อีกรูปครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 31 เมื่อ 27 มี.ค. 10, 06:22
|
|
อีกรูปครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 32 เมื่อ 27 มี.ค. 10, 06:23
|
|
อีกรูปครับ ภายในมีห่วงเเหล็กอยู่สี่ด้าน เหมือนจะเอาไว้สอดคานหามเวลาเคลื่อนย้ายครับ
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 33 เมื่อ 27 มี.ค. 10, 06:26
|
|
อีกรูปครับ คุ้นไหมครับลายแบบนี้
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 34 เมื่อ 27 มี.ค. 10, 06:27
|
|
อีกรูปครับ
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 35 เมื่อ 27 มี.ค. 10, 06:27
|
|
อีกรูปครับ อันนี้ดาวเพดานแกะใหม่ครับ
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 36 เมื่อ 27 มี.ค. 10, 06:30
|
|
อีกรูปครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 37 เมื่อ 27 มี.ค. 10, 06:31
|
|
อีกรูปครับ
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 38 เมื่อ 27 มี.ค. 10, 06:31
|
|
อีกรูปครับ
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 39 เมื่อ 27 มี.ค. 10, 06:33
|
|
อีกรูปครับ รูปสุดท้ายครับสิ่งหนึ่งที่ผมดีใจอย่างหนึ่งคืออย่างน้อยชมรมก็เห็นงานธรรมาสนี้ชิ้นที่สมบูรณ์เป็นอย่างไร โดยเก็บเป็นข้อมูลของชมรมไว้เสียดายที่ทาสีและปิดทองทับเสียหนาเตอะทำให้ความงามลบเลือนไปบ้างแต่ก็ถือว่างามละครับ เห็นอย่างนี้ก็ชื่นใจ ก็ยังคงต้องเป็นงานของชมรมต่อไปในการเก็บข้อมูลแล้วกันครับ ยังไงก็ขอบคุณคุณเนนะครับที่ดั้นด้นสืบเสาะจนเห็นชิ้นงานดีๆครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
jean1966
|
ความคิดเห็นที่ 40 เมื่อ 27 มี.ค. 10, 11:12
|
|
เห็นงานธรรมมาสน์ทีไร นึกถึงธรรมมาสน์วัดปรางค์หลวงจริงๆ ว่ามันหายสาปสูญไปไหน แม้กระทั่งวัดยันยันว่าไม่เคยมี ถ้าไม่มีแล้วชิ้นส่วนบางชิ้นมาอยู่ที่ตูได้อย่างไร น่าจะกลายเป็นฟืนไปแล้ว น่าเสียดายสุดๆกับธรรมมาสน์สมัยอยุธยาตอนกลาง
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Kurukula
|
ความคิดเห็นที่ 41 เมื่อ 27 มี.ค. 10, 22:08
|
|
น่าดีใจแทนธรรมาสน์สองหลังนี้จริงๆครับ ที่ยังคงสภาพสมบูรณ์ไม่ผุพังไปด้วยปัจจัยหลายๆอย่าง ทั้งจากน้ำมือคนที่อยู่ในวัดเอง คนมาจากนอกวัด รวมทั้งภัยธรรมชาติต่างๆ คนไทยไม่เคยเห็นคุณค่าเลย อยากเห็นเมืองไทยมีพิพิธภัณฑ์ธรรมาสน์อย่างเดียว แต่คงเป็นไปได้ยาก
ธรรมาสน์สองหลังนี้คิดว่าคงมีอายุอยู่ในช่วงพระเจ้าปราสาททองหรือพระนารายณ์ ช่วงต้นของอยุธยาตอนอปลาย ุถ้าดูจากกาบไผ่ยังไม่สะบัดเป็นกาบพรหมศรนะครับ
ขาสิงห์สูงๆทำให้คิดถึงบานประตูวัดหน้าพระเมรุ ส่วนปลายขาเป็นหัวนาคดูแปลกตาดี เหมือนธรรมาสน์วัดค้างคาวเลยครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Kurukula
|
ความคิดเห็นที่ 42 เมื่อ 27 มี.ค. 10, 22:58
|
|
วันนี้ก็เพิ่งเจอเรื่องเศร้ามาเกี่ยวกับธรรมาสน์นี่ล่ะครับ มีสาเหตุจากธรรมาสน์วัดหนึ่ง คาดว่าคงมี DNA ไม่ห่างจากวังปลายเนินและอีกวัดหนึ่งเท่าไหร่ คือที่ขาประดับมุมล่องถุน มีลักษณะคล้ายขาสิงห์ยืดยาว อาจจะเป็นรุ่นถัดมาเล็กน้อย ส่วนฐานสิงห์ล่างสุดหน้าตาใกล้เคียงกัน
ยอดหักหายไปแล้ว ถามพระท่านก็ว่าหายไปไหนไม่รู้ กองเป็นเศษไว้ในหอระฆัง เอาของไม่ใช้แล้วสุมๆไว้ บริเวณใกล้เคียงเป็นที่ให้อาหารแมว เลอะเทอะเปรอะเปื้อนวุ่นวายมาก พระท่านว่าเคยให้บอกกรมศิลป์มาเอาไปซ่อม ก็ไม่มาเสียที นานเป็นสิบปีแล้ว
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Kurukula
|
ความคิดเห็นที่ 43 เมื่อ 27 มี.ค. 10, 23:11
|
|
ล่องถุนโล่งๆเลยเอายางรถยนต์มากอง ส่วนอาสนะพระก็เอาสังกะสีมาวางปิดไว้
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Kurukula
|
ความคิดเห็นที่ 44 เมื่อ 27 มี.ค. 10, 23:13
|
|
ทวยครับ เห็นแล้วเศร้าใจมาก วัดนี้ก็เป็นวัดมีชื่อเสียง เก่าแก่ถึงสมัยอยุธยา มีัเงินมีทอง น่าจะเก็บรักษาของดีกว่านี้หน่อย
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|