เรือนไทย
ยินดีต้อนรับ ท่านผู้มาเยือน
กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
ข่าว: การแนบไฟล์ กรุณาใช้ชื่อไฟล์ภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ
หน้า: 1 2 3 [4]
  พิมพ์  
อ่าน: 9071 ศิลปะบนระฆังไทย
ohm md
มัจฉานุ
**
ตอบ: 87



ความคิดเห็นที่ 45  เมื่อ 14 มี.ค. 10, 22:49

โอยๆ เพ้อมากไป ลืมตั้งประเด็น
การแขวนระฆังแบบโบราณนี่ ทานสมาชิกอื่นๆว่าไงกันบ้างคับ
สวย อลังการ แล้วทำให้เสียงระฆังนั้นดีขึ้นกว่าการแขวนธรรมดาที่เราเห็นๆกันหรือไม่คับ
-- ผมว่า แขวนแบบนี้ดูอิสระดี การกำทอนเสียงก็น่าจะดีกว่า สั่นได้มากกว่า
หรือว่าไงคับ

แล้ว เห็นภาพบนปราสาทหินรูปคล้ายๆเรือเอกไชยเรา ผมเคยคุ้นๆว่า บรรดาผูนำแคว้นต่างๆในช่วงนั้น ต่างก็ผลัดกันเข้ามาเป็นใหญ่ในดินแดนขอมโบราณ
อย่างพ่อขุนผาเมือง ไปเป็นกษัติรย์ครองพระนครหลวง !!(ทฤษฎีนี้ตกไปยังไม่ทราบนะคับ 55) แล้วบรรดาผู้คนแถบนั้น ก็น่าจะผสมปนเปกันไป
ลักษณะเรือแบบนั้นอาจจะใช้กันไปทั่วดินแดนแถบนี้ก็ได้(อย่างคติเรื่องนาค)อาจจะเป็นของคนในลุ่มน้ำเจ้าพระยา แล้วเขมร ขอม (ใช้คำว่าอะไรดีไม่ทราบ หลายนิยามเหลือเกินกับความเป็นขอม)นำไปใช้ก็ได้
เพ้ออีกแล้ว พูดเลื่อนลอย ไม่มีหลักฐาน ก็แถวบ้านเราใช้แต่ปูนกะไม้
บันทึกการเข้า
virain
นิลพัท
*******
ตอบ: 1655


AmonRain


ความคิดเห็นที่ 46  เมื่อ 14 มี.ค. 10, 23:01

เรื่องการแขวนระฆังผมเองก็เคยตั้งคำถามเหมือนกัน ว่าการแขวนเป็นข้อๆยาวๆจะส่งผลอย่า่งอื่นไหม
แต่อย่างน้อยก็มีเรื่องของความสวยงามในการแขวนล่ะครับส่วนหนึ่ง ส่วนเรื่องเสียงอันนี้ไม่แน่ใจ

เรื่องการซ่อมแซมหรือทำลายโบราณสถาน และการสูญหายของโบราณวัตถุ เป็นเรื่องที่น่าเศร้า
เรื่องหนึ่งของทุกคนในชมรมครับ
บันทึกการเข้า
ฉันรักบางกอก
พาลี
****
ตอบ: 334



ความคิดเห็นที่ 47  เมื่อ 15 มี.ค. 10, 01:23

นอนดึกนะเรา


เข้ามาต้อนไก่ กุ๊กๆๆๆๆๆ
บันทึกการเข้า

กนก นารี กระบี่ คชะ
ติบอ
นิลพัท
*******
ตอบ: 1906


Smile though your heart is aching.


ความคิดเห็นที่ 48  เมื่อ 15 มี.ค. 10, 15:29

เรื่องการแขวนระฆังผมเองก็เคยตั้งคำถามเหมือนกัน ว่าการแขวนเป็นข้อๆยาวๆจะส่งผลอย่า่งอื่นไหม
แต่อย่างน้อยก็มีเรื่องของความสวยงามในการแขวนล่ะครับส่วนหนึ่ง ส่วนเรื่องเสียงอันนี้ไม่แน่ใจ


คงต้องรบกวนเรียนถามท่านสมาชิกที่เป็นวิศวกะครับ
ผมไม่ได้เรียนวิศวะมา แต่เข้าใจว่าในเรือนน่าจะมีหลายท่าน
เช่น ท่านมานิต ก็น่าจะตอบให้คุณ virain หาข้องใจได้นะขอรับ
บันทึกการเข้า
virain
นิลพัท
*******
ตอบ: 1655


AmonRain


ความคิดเห็นที่ 49  เมื่อ 16 มี.ค. 10, 13:31

... กรรมวิธีการหล่อระฆังของไทยผมเองไม่รู้เหมือนกันว่าหล่อแบบไหนยัง
เพราะโดยปกติเหล็กที่ผ่านการหล่อจะไม่ดังกังวานเวลาเคาะ เพราะมีความพรุนและ
มีคาร์บอนผสมอยู่ ดังนั้นการทำระฆังน่าจะมีขั้นตอนพิเศษขึ้นไปอีก เพื่อให้มีเสียง
กังวานใส อาจจะต้องเพิ่มคุณสมับติให้แข็ง โดยผ่านความร้อนสูงๆแล้วชุบ แต่การทำ
ลักษณะนี้อาจทำให้ระฆังร้าวได้ถ้าทำไม่ดี เพราะจะเกิดความเครียดในเนื้อโลหะ
เป็นไปได้ว่าการที่ระฆังชำรุดหรือระฆังแตก ก็เกิดจากความเครียดที่ว่านี้กับแรงกระทำ
ภายนอก อีกวิธีหนึ่งเป็นวิธีการแช่ลงในสระที่มีอุณหภูมิต่ำเป็นเวลานานๆ เพื่อที่จะทำให้
โครงสร้างของโลหะเรียงตัวใหม่และแน่นกว่าเดิม เพราะปกติเวลาโลหะผ่านความเย็น
ก็จะหดตัว แต่วิธีนี้จะทำให้เกิดความเครียดน้อยกว่า ซึ่งกรรมวิธีนี้ได้ยินมาว่าเป็นวิธีโบราณ
ที่ใช้ซ่อมระฆังที่มีรอยร้าว

จากที่ผมลองสันนิษฐานดู ก็ยังดูไม่เกี่ยวกับการแขวนเป็นข้อๆที่ว่าเท่าไหร่ครับ เพียงแต่คิดว่า
อยากจะแขวนให้ระฆังยาวลงมาจากเพดานมากๆหน่อย เพื่อที่จะไม่ให้เสียงก้องอยู่ในหอระฆัง

คุณติบอ.... อย่าแซวน่า เหอะๆ


บันทึกการเข้า
Kurukula
สุครีพ
******
ตอบ: 1303



ความคิดเห็นที่ 50  เมื่อ 16 มี.ค. 10, 13:35

ว้าวๆๆ เจ๋งไปเลยน้องเน  ยิงฟันยิ้ม
บันทึกการเข้า
virain
นิลพัท
*******
ตอบ: 1655


AmonRain


ความคิดเห็นที่ 51  เมื่อ 14 พ.ค. 10, 22:46

มีกระทู้เก่าๆอยู่แล้วนี่ก็ดีนะครับ ค่อยๆขุดขึ้นมาปัดฝุ่นหาความรู้กันได้เรื่อยๆ

วันนี้เอาระฆังมาฝากอีกหนึ่งใบ ถึงไม่ได้สวยมากมายแต่มีจารึก เลยเอามาฝากให้ช่วยแปลหน่อยครับ


บันทึกการเข้า
virain
นิลพัท
*******
ตอบ: 1655


AmonRain


ความคิดเห็นที่ 52  เมื่อ 14 พ.ค. 10, 22:50

เสียดายครับที่ระฆังใบนี้วางอยู่ชิด จะขยับของเขาไม่ได้เดี๋ยวจะโดนว่าเอา
เลยลองอ่านครึ่งใบนะครับ ลองดู


บันทึกการเข้า
virain
นิลพัท
*******
ตอบ: 1655


AmonRain


ความคิดเห็นที่ 53  เมื่อ 14 พ.ค. 10, 22:51

ต้องวาน พี่กุ แปลหน่อยครับ  ยิงฟันยิ้ม


บันทึกการเข้า
virain
นิลพัท
*******
ตอบ: 1655


AmonRain


ความคิดเห็นที่ 54  เมื่อ 14 พ.ค. 10, 22:52

เอามาแปะๆเผื่อไว้ เผื่อท่านใดเห็นอะไรมาจะได้เอามาลงแบ่งปันกันบ้าง เล็กๆน้อยๆ
เผื่อจะมีประโยชน์มากมายก็ได้ครับ


บันทึกการเข้า
virain
นิลพัท
*******
ตอบ: 1655


AmonRain


ความคิดเห็นที่ 55  เมื่อ 14 พ.ค. 10, 22:53

...


บันทึกการเข้า
Kurukula
สุครีพ
******
ตอบ: 1303



ความคิดเห็นที่ 56  เมื่อ 14 พ.ค. 10, 22:55

แกไปเอามาจากไหน ตัวไทยเก่ามาก แล้วอีตรงศักราชดันไม่ถ่ายมา เห็นแต่พระวสาๆ มันจบประโยคไปแล้ว อีก่อนหน้านั้นมันเลขศักราช
บันทึกการเข้า
Kurukula
สุครีพ
******
ตอบ: 1303



ความคิดเห็นที่ 57  เมื่อ 14 พ.ค. 10, 22:56

อ่านได้ละ พ.ศ. 22...2 อะไรสักอย่างแหละ 5555 อยุธยาตอนปลาย

เด๊ยวว่างๆอารมณ์ดีๆอ่านต่อ  เจ๋ง
บันทึกการเข้า
virain
นิลพัท
*******
ตอบ: 1655


AmonRain


ความคิดเห็นที่ 58  เมื่อ 14 พ.ค. 10, 23:05

อ่านะพี่ มันหมุนไม่ได้จริงๆ ถ้าผมหมุนได้หมุนไปแย้ว
ตู้พระธรรม หีบใบใหญ่ๆ ยังย้ายกันได้(ใช่ไหมพี่แพร...หุหุ) ระฆังใบแค่นี้ไม่เหลือ เหอะๆ

อ่า... ศักราชมาหายอะไรตรงนี้หว่า ตรงรอยแตกหรือครับ ??
บันทึกการเข้า
Kurukula
สุครีพ
******
ตอบ: 1303



ความคิดเห็นที่ 59  เมื่อ 14 พ.ค. 10, 23:13

ลองอ่านๆดูนิดนึง ได้ความบ้าง ควายบ้าง

ศักราชได้ 22 อะไรสักอย่าง 4 6 8 ลงท้ายด้วย 2 พระวสา เจาแม่ ธ... อะไรเนี่ย พระราชสัดธาสาดนูปะถำ....

อ่านไม่ออกละ ไปถามคนจบเอกไทยละกัน

มีพระราชสัดธา ก็น่าจะเป็นเจ้านายนะ แถมเป็นเจ้าแม่อีก แต่ไม่น่าเขียนภาษาไทยผิดเยอะยังงี้ อิอิ
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 2 3 [4]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006, Simple Machines
Simple Audio Video Embedder

XHTML | CSS | Aero79 design by Bloc หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.07 วินาที กับ 19 คำสั่ง