yutthana
|
ครับสืบเนื่องจากการพูดคุยในกระทู้ของคุณเนเรื่องพระพุทธบาทสระบุรีเลยเอามาเรียกน้ำย่อยก่อนครับ เศียรสำริดนี้มีอยู่ ๒ คู่ คู่หนึ่งสมัยพระเจ้าปราสาททอง (ที่เอามาลงให้ดูครับ ) อีกคู่สร้างในสมัยพระเจ้าทรงธรรม สังเกตว่าเศียรนาคตรงกลางโดนถอดยอดไปแล้วไม่รู้ว่าหายไปไหน ( โชคดีที่ถ่ายรูปตอนที่ยังมียอดอยู่เอาไว้ จะลงในรูปต่อๆไปครับ )
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 1 เมื่อ 20 ต.ค. 09, 00:04
|
|
อันนี้เป็นรูปด้านหลังของนาคสำริดครับใครเคยเห็นงูเห่าแผ่แม่เบี้ยคงรู้สึกได้ถึงอารมณ์ของช่างให้ความรู้สึกเหมือนงูๆจริงๆเลย ให้ดิ้นตายเลยครับ เคยไปดูเก้าอี้แกะสลักไม้เป็นรูปพญานาคในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแล้วหงอนพญานาคที่เป็นลายกนกหักไปทำให้เห็นเลยว่านี่มันงูเห่าชัดๆใครบอกว่าช่างไทยไม่รู้กายวิภาค ช่างไทยนี้ท่านรู้กายวิภาคแต่ท่านเลือกเอาความงามของรูปทรงเส้นตัดทอนให้เหลือแต่ความงามเอาความไม่งามออกไป ชมทัศนารูปต่อไปเลยครับเดี๋ยวจะหาว่าผมโม้มากไปครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 2 เมื่อ 20 ต.ค. 09, 00:07
|
|
ด้านหลังของเศียรพญานาค(เศียรรองจากเศียรกลาง) ลืมบอกไปว่าช่างโบราณท่านเก่งเรื่องหล่อคือท่านหล่อเป็นชิ้นๆแล้วใช้สลักโลหะต่อกันอย่างแนบเนียนมากครับไม่ได้หล่อทั้งชิ้นเป็นชิ้นเดียวแบบปัจจุบันครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 3 เมื่อ 20 ต.ค. 09, 00:09
|
|
มุมมองหนึ่ง
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 4 เมื่อ 20 ต.ค. 09, 00:10
|
|
เพราะความที่สลักถอดได้จึงทำให้โจรลักลอบถอกออกไปหมดอย่างที่เห็นครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 5 เมื่อ 20 ต.ค. 09, 00:15
|
|
เศียรกลางด้านหลังครับ โปรดสังเกตทีละส่วนนะครับเส้นลวดรอบเทริดที่เป็นเม็ดกลมๆเกิดจากการใช้เขาควายเล็กๆเป็นรูกดขี้ผึ้งลงไป ตามกระจังหรือลายที่เป็นวงกลมๆก็ใช้เทคนิคเดียวกันส่วนการบากลายใช้ไม้เนียนหรือไม้ละเอียด(ทำจากเส้นทองเหลือง มาตีให้ปลายทั้งสองด้านแบน) ปลายลายนี่เป็นติ่งสะบัดซะสวยงามตามลายปั้นขี้ผึ้งจริงๆ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 6 เมื่อ 20 ต.ค. 09, 00:24
|
|
เศียรด้านนอกยังอยู่ดี สังเกตรูสี่เหลี่ยมที่คอเป็นสลักเดือย แต่เดือยถูกถอดออกไปถ้ายังอยู่จะเหมือนเศียรข้างๆที่เป็นรูปกระจังและมีหมุดเหมือนตะปูอยู่ตรงปลายเพื่อเชื่อมระหว่างเศียรกับคอครับ
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 7 เมื่อ 20 ต.ค. 09, 00:28
|
|
รูปต่อไปครับ
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 8 เมื่อ 20 ต.ค. 09, 00:29
|
|
รูปต่อไปครับ อันนี้เป็นนาคอีกด้านหนึ่งลายด้านหลังจะไม่เหมือนกันครับ
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 9 เมื่อ 20 ต.ค. 09, 00:32
|
|
รูปต่อไปครับดูกนกเสียก่อนว่าสบัดเพียงไหน หล่อเป็นชิ้นและติดด้วยสลักเช่นกัน
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 10 เมื่อ 20 ต.ค. 09, 00:33
|
|
อีกด้านหนึ่ง โปรดสังเกตโครงของกนกที่ลื่นไหล ไม่เป็นทรงสามเหลี่ยมเหมือนรัตนโกสินทร์
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 11 เมื่อ 20 ต.ค. 09, 00:39
|
|
รูปต่อไปครับ
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 12 เมื่อ 20 ต.ค. 09, 00:40
|
|
รูปต่อไปครับ
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 13 เมื่อ 20 ต.ค. 09, 00:41
|
|
ด้านหลัง โปรดสังเกตว่าลายด้านหลังเป็นลายก้านขดสำหรับฝั่งนี้
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 14 เมื่อ 20 ต.ค. 09, 00:44
|
|
ด้านหลังนาค
|
 คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|