virain
|
ความคิดเห็นที่ 225 เมื่อ 13 ต.ค. 09, 21:52
|
|
...ดังดาวเดือนเกลื่อนกลาดดาดบนฟ้า ให้เวหาเพรวพราวสกาวใส เลื่อนสามโลกมายังธรรมาลัย ถวายในพระไตรรัตนบูชา ......(สาธุ).........
เพราะไหมครับ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
virain
|
ความคิดเห็นที่ 226 เมื่อ 13 ต.ค. 09, 21:54
|
|
...
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
virain
|
ความคิดเห็นที่ 227 เมื่อ 13 ต.ค. 09, 21:57
|
|
รูปแบบกระจังคล้ายๆกับที่ธรรมาสน์เทศน์ครับ คือลักษณะของกระจังตัวประธานมีขนาดใหญ่กว่าตัวที่อยู่ด้านข้างมาก
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
virain
|
ความคิดเห็นที่ 228 เมื่อ 13 ต.ค. 09, 21:57
|
|
...
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
virain
|
ความคิดเห็นที่ 229 เมื่อ 13 ต.ค. 09, 21:59
|
|
...
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
virain
|
ความคิดเห็นที่ 230 เมื่อ 13 ต.ค. 09, 22:00
|
|
ภาพนี้พยายามถ่ายมาให้เห็นลายที่แผงไม้ด้านหลังตัวกระจังครับ ตัวกระจังตอนนี้ทำการตอกตะปูล็อคไว้ เพื่อป้องกันการสูญหายครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
virain
|
ความคิดเห็นที่ 231 เมื่อ 13 ต.ค. 09, 22:01
|
|
...
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
virain
|
ความคิดเห็นที่ 232 เมื่อ 13 ต.ค. 09, 22:08
|
|
หลังจากนั้นผมก็เข้ามายังพระวิหารหลวงแล้วนมัสการพระพุทธชินราช ท่ามกลางการมาสักการบูชาของผู้คนจำนวนมาก องค์พระพุทะชินราชนั้นงดงามเพียงใดคงเป็นที่ประจักษ์แก่ผู้พบเห็นได้ในทันที ตอนนี้องค์พระสว่างเป็นเงางามเพราะ เพิ่งทำการปิดทองใหม่ แต่นอกจากผมจะพามาชมองค์พระพุทธปฏิมาแล้วยังมีอีกสิ่งหนึ่งที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงตรัสชมว่างามไม่เคยพบเห็นอีกสิ่งหนึ่ง คือ เรือนแก้ว นั่นเอง
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
virain
|
ความคิดเห็นที่ 233 เมื่อ 13 ต.ค. 09, 22:12
|
|
เรือนแก้วประดับองค์พระพุทธชินราชนี้ อาจารย์ น ณ ปากน้ำ กล่าวว่าเป็นศิลปะสุโขทัย โดยเป็นรูปแบบที่ลงตัวที่สุดในบรรดาเรือนแก้วที่ครอบองค์พระปฏิมายุคเก่าๆครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
virain
|
ความคิดเห็นที่ 234 เมื่อ 13 ต.ค. 09, 22:15
|
|
คำอธิบายเกี่ยวกับลายในส่วนนี้หาอ่านได้ที่หนังสือ วิวัฒนาการลายไทย ของอาจารย์ น ณ ปากน้ำ ตอนนี้ก็เข้ามาชมภาพไปพลางๆก่อนครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
virain
|
ความคิดเห็นที่ 235 เมื่อ 13 ต.ค. 09, 22:18
|
|
...
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
virain
|
ความคิดเห็นที่ 236 เมื่อ 13 ต.ค. 09, 22:19
|
|
...
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
virain
|
ความคิดเห็นที่ 237 เมื่อ 13 ต.ค. 09, 22:23
|
|
อาจารย์ น ณ ปากน้ำ กล่าวถึงรูปสัตว์ชนิดหนึ่งนี้ว่า
ลายเชิงเรือนแก้ส่วนล่าง เป็นรูปคชสีห์ผสมนาคที่หงอนเป็นลายก้านขดโค้งๆจำนวนมาก เป็นลักษณะพิเศษของลายสมัยสุโขทัย อโยธยา และสุพรรณภูมิซึ่งอยู่ร่วมสมัยกัน
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
virain
|
ความคิดเห็นที่ 238 เมื่อ 13 ต.ค. 09, 22:24
|
|
... ด้านข้างอีกฝั่งครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
virain
|
ความคิดเห็นที่ 239 เมื่อ 13 ต.ค. 09, 22:26
|
|
ภาพนี้น่าจะเป็นท่านท้าวเวสุวัณ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|