เรือนไทย
ยินดีต้อนรับ ท่านผู้มาเยือน
กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
ข่าว: การแนบไฟล์ กรุณาใช้ชื่อไฟล์ภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ
หน้า: 1 [2] 3 4 ... 24
  พิมพ์  
อ่าน: 47576 ชมศิลปะเก่าแก่ ในหัวเมืองเหนือกรุงศรีอยุธยา
virain
นิลพัท
*******
ตอบ: 1655


AmonRain


ความคิดเห็นที่ 15  เมื่อ 10 ต.ค. 09, 20:56

จิตรกรรมฝาผนังดังกล่าวเลื่องลือกันมาว่างดงามมาก ภาพเหนือกรอบบานประตูเขียนเรื่องมาผจญ
แต่ฝีมือไม่ดีเหมือนว่าจะมีการเขียนทับ


บันทึกการเข้า
virain
นิลพัท
*******
ตอบ: 1655


AmonRain


ความคิดเห็นที่ 16  เมื่อ 10 ต.ค. 09, 20:58

สำหรับผมมองอย่างไรจับเรื่องไม่ถูกว่าเป็นสังข์ทองยังไง เพราะภาพเลือนมากจนแทบจะเห็นแต่ผนังปูน


บันทึกการเข้า
virain
นิลพัท
*******
ตอบ: 1655


AmonRain


ความคิดเห็นที่ 17  เมื่อ 10 ต.ค. 09, 21:00

ภาพนี้เดาว่าเป็น 7 ธิดาท้าวสามล


บันทึกการเข้า
virain
นิลพัท
*******
ตอบ: 1655


AmonRain


ความคิดเห็นที่ 18  เมื่อ 10 ต.ค. 09, 21:05

ภาพนี้เดาว่าเป็นยักษ์ในเมืองของนางพันธุรัตน์


บันทึกการเข้า
virain
นิลพัท
*******
ตอบ: 1655


AmonRain


ความคิดเห็นที่ 19  เมื่อ 10 ต.ค. 09, 21:07

ภาพนี้คิดว่าเป็นภาพเจ้าเงาะชุบทอง อารมณ์ว่าำกลังจะหนี?


บันทึกการเข้า
virain
นิลพัท
*******
ตอบ: 1655


AmonRain


ความคิดเห็นที่ 20  เมื่อ 10 ต.ค. 09, 21:08

??


บันทึกการเข้า
jean1966
สุครีพ
******
ตอบ: 1256


ความคิดเห็นที่ 21  เมื่อ 10 ต.ค. 09, 21:08

สวัสดีครับน้องเนและน้องยุทธ พี่ตอนนี้งานหลวงงานราษฎรรัดตัว ไม่สามารถเดินทางไปไหนได้เลย เลยขอมาแจมกระทู้น้องๆไปก่อน เอาข้อมูลมาเพิ่มเติม ภาพเขียนที่วัดหน้าพระธาตนี้เป็นฝีมือช่างท้องถิ่นที่ฝีมือจัดจ้าน ประเภท เจอมาเยอะ เจ็บมาเยอะ(กว่าจะเก่ง)ไม่นึกว่าภาพเขียนปัจจุบันจะขาดการดูแลจนใกล้จะหมดเกลี้ยงขนาดเนี้ย นอกจากเรื่องสังข์ทองยังมีเขียนเรื่องรามเกียรติ์ด้วยนะครับ ยังเหลือรึเปล่า
 วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ์ ไม่ปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตร์ว่าสร้างขึ้นเมื่อใด ชาวบ้านเรียกชื่อวัดนี้ไปต่างๆ กัน คือ วัดหน้าพระธาตุ วัดบรมธาตุ วัดทุ่งยั้ง วัดชัยบุรี วัดชัยปราการ วัดกัมโพชนคร วัดอุตรคามนคร  
สำหรับชื่อ “วัดกัมโพชนคร” เนื่องจากปรากฏหลักฐานการเรียกชื่อเมืองทุ่งยั้งในพงศาวดารเหนือว่า “กัมโพชนคร” ชาวบ้านแถบนั้นคงจะนำชื่อนี้มาเรียกวัดสำคัญประจำเมืองด้วยเช่นกัน
 ถึงแม้ว่า วัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง จะไม่มีหลักฐานการสร้างที่ชัดเจน แต่ก็ได้มีตำนานการสร้างวัดเขียนขึ้นอย่างมากมาย เช่น ตำนานที่คัดลอกมาจากหนังสือที่ พระสมุห์กอ ญาณวีโร รวบรวมไว้เมื่อวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๘ ความว่า
 “กิร ดังได้ยินมาว่า พระกุกกุสันโธ เสด็จอยู่ในภูเขาซอกนอกเมืองทุ่งยั้ง พระพุทธเจ้าก็ทรงยกพระหัตถ์ลูบพระเศียรเกล้า พระเกศหล่นลงเส้นหนึ่ง และพระองค์ก็ทรงยื่นให้พระอรหันต์ พระอรหันต์ก็ยื่นให้พระยาอโสกราช พระยาอโสกราชก็บรรจุไว้ในถ้ำทุ่งยั้งนี้แล แล้วพระพุทธเจ้าก็พระพุทธฎีกาตรัสเทศนาพยากรณ์ทำนายไว้ในเบื้องหน้าว่า เมื่อตถาคตนิพพานล่วงลับไปแล้ว ถึงศาสนาโคดม ศาสนาพระพุทธกัสสปะ ศาสนาพระศรีอริยเมตไตย ก็จะมีกษัตริย์องค์หนึ่งนำเอาพระบรมธาตุมาบรรจุไว้ในสถานที่นี้ทุกๆ พระองค์ ในศาสนาของเรานี้แล"
 สมัยรัตนโกสินทร์ พญาตะก่า เป็นพ่อค้าไม้ชาวพม่ามีศรัทธาแรงกล้าขออนุญาตทำการบูรณะพระมหาธาตุเจดีย์ ได้นำฉัตรมาติดยอดพระบรมธาตุเจดีย์ทุ่งยั้ง และสร้างเจดีย์องค์เล็กที่ฐานชั้นล่างทั้ง ๔ มุม และสันนิษฐานว่าการซ่อมของพญาตะก่าครั้งนี้ คงจะซ่อมประมาณเดือน เสร็จก่อนเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๔๔๔ เนื่องจากปรากฏหลักฐานโดย สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัติวงศ์ ทรงบันทึกในพระนิพนธ์จดหมายระยะทางไปพิษณุโลก เกี่ยวกับวัดพระบรมธาตุทุ่งยั้ง เมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๔๔ ไว้ส่วนหนึ่งดังนี้
 “หลังพระวิหารมีพระธาตุ สูงเห็นจะเกือบ ๒๐ วา เป็นรูปเจดีย์พม่าใหม่อลองฉ่อง พระสีหสงครามว่า พระธาตุเดิมเล็ก นี่เขาทำบวกเข้าใหม่เมื่อสองเดือนนี้ ช่างพม่ารับจ้างทำอย่างพม่า พร้อมทั้งประตูกำแพงแก้วด้วย รูปร่างทำใหม่ก็ดีอยู่”
 และเมื่อวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๑ ได้เกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ ทำให้ยอดพระบรมธาตุเจดีย์หักพังลงมา ต่อมา หลวงพ่อแก้ว สมภารวัดพระบรมธาตุในขณะนั้น ได้เป็นหัวหน้าปฏิสังขรณ์ซ่อมเพิ่มเติม ดังรูปแบบที่ปรากฏในปัจจุบัน
 พระมหาธาตุเจดีย์ (ทุ่งยั้ง) สันนิฐานว่า สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ.๑๙๐๒ เป็นมหาเจดีย์ทรงกลมแบบลังกา ซึ่งนิยมสร้างกันในสมัยกรุงสุโขทัย สูงประมาณ ๑ เส้น ฐานเป็นสี่เหลี่มจตุรัส ทำด้วยศิลาแลง ก่อซ้อนกัน ๓ ชั้น กว้าง ๑๐ วา ๓ ศอก
 มีเจดีย์บริวารขนาดเล็ก ตั้งอยู่ทั้ง ๔ ทิศ ที่ฐานชั้นที่ ๓ มี ซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูปทั้ง ๔ ด้าน แต่เจ้าอาวาสเกรางว่าจะถูกโจรกรรม จึงอัญเชิญไปประดิษฐานไว้ในวิหาร และกุฏิพระสงฆ์



คลิกที่รูปเพื่อขยาย/ย่อ
บันทึกการเข้า
virain
นิลพัท
*******
ตอบ: 1655


AmonRain


ความคิดเห็นที่ 22  เมื่อ 10 ต.ค. 09, 21:09

นาคพิภพ


บันทึกการเข้า
jean1966
สุครีพ
******
ตอบ: 1256


ความคิดเห็นที่ 23  เมื่อ 10 ต.ค. 09, 21:13

ภาพความคิดเห็นที่18นั้นแหละครับ ยักษ์ในเรื่องรามเกียรติ์ ฝีมือที่นี่เป็นช่างสมัยรัชกาลที่3 บางข้อมูลว่าฝีมือถึงช่างหลวง ซึ่งอาจใช่แต่ไม่ใช่ระดับสุดยอดอย่างวัดสุวรรณประมาณว่าอย่างวัดหน่อพุทธางกูร หรือวัดไม้รวกนั่นแหละ
บันทึกการเข้า
virain
นิลพัท
*******
ตอบ: 1655


AmonRain


ความคิดเห็นที่ 24  เมื่อ 10 ต.ค. 09, 21:16

ขอบคุณครับพี่ยีนส์ สำหรับข้อมูลละเอียดๆ ยังมีอีกหลายที่ยังไงพี่มาช่วยให้ความรู้ด้วยนะครับ
เรื่องรามเกียรติ์นี่ลำบากมากครับไม่พบเลย เพราะแค่เรื่องสังข์ทองผมยังแทบไม่เห็นเลย
ซ้ำมารผจญเหมือนจะมีการตัดเส้นทับด้วยครับผม


บันทึกการเข้า
virain
นิลพัท
*******
ตอบ: 1655


AmonRain


ความคิดเห็นที่ 25  เมื่อ 10 ต.ค. 09, 21:21

อ้อ ครับ ผมเองก็จับไม่ค่อยได้ พอยืนดูแสงมันก็แยงตา จะมาเห็นรายละเอียดอีกที ก็จากภาพนี่ล่ะครับ


บันทึกการเข้า
virain
นิลพัท
*******
ตอบ: 1655


AmonRain


ความคิดเห็นที่ 26  เมื่อ 10 ต.ค. 09, 21:24

ถาพสุดท้ายครับ ภาพอะไรไม่รู้?


บันทึกการเข้า
virain
นิลพัท
*******
ตอบ: 1655


AmonRain


ความคิดเห็นที่ 27  เมื่อ 10 ต.ค. 09, 21:30

ภายในพระวิหารเป็นเสากลมขนาดใหญ่มีลายบนพื้นสีดำ หัวเสาทำเป็นบัวโถแบบเดียวกับที่วัดพระพุทธชินราช
คานไม้เหนือต้นเสาแกะสลักลวดลายคล้ายลายสมัยอยุธยาตอนกลาง แต่ละช่วงแกะลายไม่เหมือนกัน
แต่การจัดวางดูแปลกตา เหมือนจะสลับที่ผิดตำแหน่งหรือเปล่าไม่แน่ใจ??


บันทึกการเข้า
virain
นิลพัท
*******
ตอบ: 1655


AmonRain


ความคิดเห็นที่ 28  เมื่อ 10 ต.ค. 09, 21:35

ยอมรับว่าตอนถ่ายภาพในพระวิหารหิวข้าวมาก แถมต้องถ่ายภาพแหงนขึ้นไปอีก 
กว่าจะจับภาพได้เวียนหัวมากเลยครับ
ยิงฟันยิ้ม


บันทึกการเข้า
virain
นิลพัท
*******
ตอบ: 1655


AmonRain


ความคิดเห็นที่ 29  เมื่อ 10 ต.ค. 09, 21:44

ลายบนคานไม่นี้จะมีแบบแผนคล้ายกันตรงที่ จะมีลายดอกกลมๆเป็นตัวคั่น
แต่เขาออกแบบลายไม่ซ้ำกัน ไม่รู้ว่าต่างฝีมือหรือเปล่านะครับ


บันทึกการเข้า
หน้า: 1 [2] 3 4 ... 24
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006, Simple Machines
Simple Audio Video Embedder

XHTML | CSS | Aero79 design by Bloc หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.057 วินาที กับ 19 คำสั่ง