yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 45 เมื่อ 11 ต.ค. 09, 09:05
|
|
ภาพขยายลายละเอียด
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 46 เมื่อ 11 ต.ค. 09, 09:07
|
|
ภาพขยายลายละเอียด
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 47 เมื่อ 11 ต.ค. 09, 09:08
|
|
หงส์จะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 48 เมื่อ 11 ต.ค. 09, 09:10
|
|
ภาพขยายลายละเอียด
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
virain
|
ความคิดเห็นที่ 49 เมื่อ 11 ต.ค. 09, 09:11
|
|
สวัสดีตอนเช้าครับ พี่ยุทธ น่่าสนใจมากครับ มองดูก็รู้นะครับว่ามันต่างกัน แต่ยังมองไม่ค่อยเข้าใจ โดยเฉพาะเรื่องการวางระนาบระนาบ มันมีเทคนิคยังไง?? ที่วัดพระบรมธาตุยังมีอะไรน่าสนใจอีกหรือเปล่าครับ ยังไม่เคยไปเลย
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 50 เมื่อ 11 ต.ค. 09, 09:13
|
|
ภาพพระอินทร์ครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 51 เมื่อ 11 ต.ค. 09, 09:20
|
|
มีอีกเป็นกระตักเลยครับคุณเน โดยเฉพาะบานประตูแกะไม้รูปพระอิศวรกับพระนารายณ์ (อันนี้จะไปลงในห้องลายแกะไม้ครับ) พระพุทธรูปปูนปั้นในซุ้มจรนำรอบระเบียงคต พระพุทธรูปโลหะพอกปูนปั้นติดกระเหนะรัก ตู้ลายรดน้ำ และพิพิธภัณฑ์ (อันนี้ถ่ายไม่ได้เขาไม่ยอมให้ถ่ายภาพ)
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
jean1966
|
ความคิดเห็นที่ 52 เมื่อ 11 ต.ค. 09, 09:45
|
|
สวัสดีตอนเช้าครับ ดูลักษณะยักษ์ของด้านนี้ผมว่ามันรัตนโกสินทร์เลยนะเนี่ย คงมีการซ่อมแซมในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นแน่ๆ ต้องไปดูประวัติวัดกันอีกที
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 53 เมื่อ 11 ต.ค. 09, 10:50
|
|
สวัสดีครับพี่ยีนส์ เห็นด้วยครับเนื่องจากลักษณะโครงหน้าของยักษ์และลวดลายน่าจะเป็นรัตนโกสินทร์ครับ น่าจะประมาณรัชกาลที่๒-๓ครับอาจเป็นการปั้นซ่อมจากของเดิมเพราะพระอินทร์ยังมีเค้าของอยุธยาอยู่
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
virain
|
ความคิดเห็นที่ 54 เมื่อ 11 ต.ค. 09, 12:21
|
|
ดูไม่ออกครับ?? ถามพี่ยุทธนินึงครับ ว่าภาพสลักบานประตูที่ว่านี้มีคู่เดียวใช่ไหมครับ และเป็นอยุธยาตอนต้น ..? รีบๆลงนะครับ รอชมๆ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
kui045
มัจฉานุ
 
ตอบ: 94
|
ความคิดเห็นที่ 55 เมื่อ 11 ต.ค. 09, 14:38
|
|
สวัสดีครับ ดูภาพปูนปั้นนุนต่ำแล้ว ก็เห็นอีกหลายอย่าง เห็นภาพเทวดาพนมกรพร้อมช่อดอกไม้แล้ว นึกถึงวิหารพระพุทธชินราช-ชินสีห์-ศรีศาดาอย่างไรก็ไม่รู้ อีกทั้งพลอยนึกไปถึงภาพจิตรกรรมในวิหารหลายๆวัดทางลำปางโน่น
สังเกตุเห็นภาพมารทั้งสองด้านแล้ว มีจุดเล็กเล็กนิดหนี่ง ด้านแรก คห. 12 มารประทับยืนบนหน้ากาล(ราหู) สะท้อนถึงความชั่วร้าย อีกด้านยืน คห. 41 มีหงส์อยู่ข้างข้าง ช่างปั้นพยายามแสดงนัยแฝงไว้หรือเปล่าว่า มารนี้เป็นมารชั้นพรหม(เพราะหงษ์เป็นพาหนะของพรหม)
ภาพทั้งสองด้านเป็นภาพพุทธประวัติตอนเดียวกันการปั้นโครงเรื่องคล้ายคล้ายกัน แต่ลวดลายฝีมือแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด
น่าเสียดายที่ไม่มีความรู้เรื่องลวดลวยผ้าเครื่องประดับ ไม่งั้นคงดูได้สนุกได้อรรถรสยิ่งกว่านี้
ภาพ คห. 34 และ 6 เป็นภาพเทวดาเล่นเครื่องดนตรีสายประเภทดีดอยู่ (ผมดูคล้ายพิณ)
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 56 เมื่อ 12 ต.ค. 09, 00:19
|
|
ตอบคุณเนครับว่าบานประตูมีอยู่คู่เดียวครับอยู่ตรงทางเข้าไปสู่องค์พระธาตุครับ เขาบอกว่าเป็นอยุธยาตอนต้นแต่ก็น่าจะเป็นช่วงปลายในสมัยพระบรมไตรแล้วครับ ส่วนการมองศิลปะในแต่ละยุค คงต้องค่อยๆดูไปนะครับเพราะลักษณะโครงหน้าและลวดลายเป็นตัวบ่งบอกสมัยอย่างหนึ่งต้องอาศัยประสบการณ์และการเห็นงานสมัยต่างๆมากๆครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 57 เมื่อ 12 ต.ค. 09, 00:44
|
|
สวัสดีครับ ดูภาพปูนปั้นนุนต่ำแล้ว ก็เห็นอีกหลายอย่าง เห็นภาพเทวดาพนมกรพร้อมช่อดอกไม้แล้ว นึกถึงวิหารพระพุทธชินราช-ชินสีห์-ศรีศาดาอย่างไรก็ไม่รู้ อีกทั้งพลอยนึกไปถึงภาพจิตรกรรมในวิหารหลายๆวัดทางลำปางโน่น
สังเกตุเห็นภาพมารทั้งสองด้านแล้ว มีจุดเล็กเล็กนิดหนี่ง ด้านแรก คห. 12 มารประทับยืนบนหน้ากาล(ราหู) สะท้อนถึงความชั่วร้าย อีกด้านยืน คห. 41 มีหงส์อยู่ข้างข้าง ช่างปั้นพยายามแสดงนัยแฝงไว้หรือเปล่าว่า มารนี้เป็นมารชั้นพรหม(เพราะหงษ์เป็นพาหนะของพรหม)
ภาพทั้งสองด้านเป็นภาพพุทธประวัติตอนเดียวกันการปั้นโครงเรื่องคล้ายคล้ายกัน แต่ลวดลายฝีมือแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัด
น่าเสียดายที่ไม่มีความรู้เรื่องลวดลวยผ้าเครื่องประดับ ไม่งั้นคงดูได้สนุกได้อรรถรสยิ่งกว่านี้
ภาพ คห. 34 และ 6 เป็นภาพเทวดาเล่นเครื่องดนตรีสายประเภทดีดอยู่ (ผมดูคล้ายพิณ) อยากตอบเป็นข้อๆพอจำแนกได้ถือเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้กันครับ อย่างภาพเทวดาเหาะและพนมมือพร้อมช่อดอกไม้ หรือดอกบัวก็ตามเป็นท่าที่ได้รับอิทธิพลมาจากศิลปะปาละของอินเดีย ซึ่งท่าเหล่านี้ ถือเป็นท่าครู (คือท่านาฎลักษณ์ที่ใช้กันจนเป็นแบบแผน) เพราะฉะนั้นไม่แปลกเลยที่เราจะเห็นท่านาฎลักษณ์รูปแบบนี้ในหลายๆที่ ส่วนมารที่มีหน้าราหู(หรืออาจเป็นตัวกาละ) นั้นเป็นฐานที่พญามารยืนนั้นอาจเป็นการเปรียบเทียบแสดงให้เห็นว่าเป็นพญามารและแสดงถึงกิเลส ที่พระพุทธเจ้าทรงสละเพพื่อตรัสรู้ครับ ภาพหงส์นั้นเป็นการแก้ปัญเรื่องพื้นที่ว่างมากกว่าเนื่องจาก พระพรหม(ที่มีพาหนะเป็นหงส์ )อยู่สวรรค์คนละชั้นกับพญามาร เรื่องลวดลายผ้าเครื่องประดับ นั้นเป็นการนุ่งแบบของจริงในสมัยอยุธยา ผมจำชื่อการนุ่งแบบนี้ไม่ได้แล้วต้องนึกทวนดูก่อน เมื่อก่อนอ.วีรธรรมเคยสอนการนุ่งผ้าแบบนี้ครั้งหนึ่งแต่ไม่ไดนุ่งนานแล้ว ต้องลองทบทวนดูน่าจะยังจำได้อยู่ครับ ส่วนลักษณะลวดลายและใบหน้าน่าจะมีลักษณะผสมของอยุธยาและนครศรีธรรมราชอยู่ครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 58 เมื่อ 12 ต.ค. 09, 01:18
|
|
ภาพปูนปั้นพระพุทธรูปยืนในซุ้มจระนำซึ่งอยู่ติดกัน
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
yutthana
|
ความคิดเห็นที่ 59 เมื่อ 12 ต.ค. 09, 01:20
|
|
ทาสีน้ำมันใหม่หมดทำให้ถ่ายรูปออกมาลวดลายเลือนไม่ชัดเจน
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|