เรือนไทย
ยินดีต้อนรับ ท่านผู้มาเยือน
กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
ข่าว: การแนบไฟล์ กรุณาใช้ชื่อไฟล์ภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ
หน้า: [1]
  พิมพ์  
อ่าน: 8540 ข้อมูลสงครามเก้าทัพ (โปรดระวัง ยาวมาก ๒๗หน้า ) ความเห็น ขอให้ลงที่กระทู้๒๑๗
ภูมิ
บุคคลทั่วไป
 เมื่อ 11 ธ.ค. 00, 08:00

http://user.school.net.th/~suttirut/thep6/9tup1.pdf'
target='_blank'>http://user.school.net.th/~suttirut/thep6/9tup1.pdf










ฉบับร่าง สงครามเก้าทัพ โดย
พลโทรวมศักดิ์ ไชยโกมินทร์

1

สงครามเก้าทัพ สงครามเก้าทัพ
/>
สถานการณ์ก่อนสงคราม สถานการณ์ก่อนสงคราม

สถานการณ์ฝ่ายไทย
สถานการณ์ฝ่ายไทย

เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
ได้ปราบดาภิเษกเถลิงวัลย์ราชสมบัติเมื่อปีขาล

พุทธศักราช 2325
ได้ทรงมีพระราชดำริว่านครหลวงเดิมซึ่งตั้งอยู่ที่จังหวัดธนบุรีนั้น
มีวัดล้อมอยู่

2 ด้าน คือวัดแจ้ง (วัดอรุณราชวราราม) และวัดท้ายตลาด
(วัดโมลีโลกยาราม) นอกจากนั้นแล้

วยังทรงดำริว่า
พม่าคงจะมาตีประเทศไทยอีก กรุงธนบุรีสร้างป้อมปราการ 2 ฝั่งเอาแม่น้ำไว้กลาง
/>
เมืองเหมือนอย่างเมืองพิษณุโลก มีประโยชน์ที่จะเอาเรือรบเข้าไว้ในเมือง
เวลาข้าศึกมาประชิด การ
/>
สู้รบรักษาเมืองคนข้างในจะโยกย้ายกำลังมาช่วยกันรักษาหน้าที่
ไม่ทันท่วงทีเพราะต้องข้ามแม่น้ำต่าง
/>
กับเมืองพิษณุโลกซึ่งลำน้ำแคบและตื้น กระนั้นยังทำสะพานข้ามได้ยากลำบาก
ซึ่งพระองค์เคยประส

พมาแล้วในการรักษาเมืองพิษณุโลกสู้ศึกอะแซหวุ่นกี้
เมื่อพระองค์มีพระราชดำริเช่นนี้ จึงมีความเห็
/>
นว่าควรย้ายพระนครมาทางฝั่งตะวันออก ซึ่งพระองค์เคยมีพระราชดำริเช่นนี้
ตั้งแต่สมัยกรุงธนบุรีแล้

ว และเคยกราบทูลสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
แต่ขณะนั้นศึกกำลังติดพันอยู่ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุ
/>
รีจึงยังทรงเฉยอยู่

ในการสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ทางฝั่งตะวันออกนี้
พระองค์มีรับสั่งให้รื้อกำแพงกรุงเก่าเอาอิฐมา

สร้างเป็นป้อมปราการ
การสร้างพระนครใช้เวลา 3 ปี สำเร็จเมื่อปี มะเส็ง พ.ศ. 2328 และกำห
/>
นดให้มีการสมโภชพระนคร
หลังจากสมโภชพระนครในไม่ช้าพม่าก็ยกทัพให?่มาตีเมืองไทยในปีนั้นเ

อง
/>
สถานการณ์ฝ่ายพม่า สถานการณ์ฝ่ายพม่า
/>
เมื่อพระเจ้าอลองพ?าผู้เป็นต้นราชวงศ์สิ้นนพระชนม์
มังลอกราชบุตรองค์ให?่ได้ครองแผ่นดิ
/>
นพม่าต่อมาพระเจ้ามังลอกมีราชบุตรกับมเหสีองค์หนึ่งชื่อว่ามังหม่อง
เมื่อพระเจ้ามังลอกสิ้นพระชนม์

มังหม่องยังเป็นทารกอยู่
ราชสมบัติจึงได้แก่มังระราชอนุชาครั้นมังหม่องเจริ?วัยขึ้น พระเจ้ามังระเ
/>
กรงมังหม่องจะชิงราชสมบัติจึงคิดประหารมังหม่องเสีย
แต่พระนางราชชนนีผู้เป็นย่าของมังหม่องขอชี

วิตไว้รับว่าจะให้ไปอุปสมบท
มังระจึงไม่ทำอันตรายมังหม่อง เมื่อ พ.ศ. 2319 มังระประชวรหนักจวน
/>
จะสิ้นพระชนม์ จะมอบราชสมบัติให้ผู้อื่นก็กลัวจะเกิดจราจล
จึงมอบราชสมบัติให้จิงกูจาราชบุตรอง

ค์ให?่อันเกิดจากมเหสี
(จิงกูจาแปลว่าผู้กินส่วยเมือง) จิงกูจาเป็นคนเสเพลชอบคบคนพาล เมื่อจิงกู
/>
จาได้ราชสมบัติแล้วก็จับแชลงราชอนุชา (เกิดจากพระสนม) สำเร็จโทษเสีย
และให้อะแซหวุ่นกี้กลับจ

ากพิษณุโลก ครั้นอะแซหวุ่นกี้กลับไปถึง
ก็ปลดอะแซหวุ่นกี้จากยศบรรดาศักดิ์ แล้วจับพระเจ้าอาองค์
/>
ให?่ชื่อมังโปสำเร็จโทษเสีย ในระหว่างนั้นบ้านเมืองมีแต่ความระส่ำระสาย
พระเจ้าจิงกูจาเสวยสุราแ
/>
ละพาลหาเหตุต่างๆแม้สนมที่มีความเสน่หามากถึงกับยกให้เป็นสนมเอกรองจากมเหสีก็จับไปถ่วงน้ำ
/>
ถอดบิดาของนางลงเป็นไพร่พฤติการณ์เช่นนี้อตวนหวุ่นจึงโกรธแค้น
ได้ไปคบคิดกับตุแคงปดุงและอะ

แซหวุ่นกี้ซึ่งถูกถอด
ปรึกษากันเพื่อกำจัดพระเจ้าจิงกูจาเสียจากราชสมบัติ
เหตุการณ์ตอนนี้มีความวุ่ชฉบับร่าง สงครามเก้าทัพ โดย พลโทรวมศักดิ์
ไชยโกมินทร์

2

นวายมาก
เพราะถ้ากำจัดพระเจ้าจิงกูจาแล้วจะเอาใครมาเป็นกษัตริย์
ครั้งแรกคิดจะอุดหนุนมังหม่อ

งซึ่งบวชเป็นสามเณรให้ช่วงชิงราชสมบัติ
เพราะมังหม่องเป็นลูกมเหสีของพระเจ้ามังลอก

ครั้นปีฉลู พ.ศ. 2324
พระเจ้าจิงกูจาเสด็จประพาสหัวเมือง มังหม่องจึงสึกจากสามเณรเข้า
/>
ยึดเมืองอังวะได้สำเร็จ มังหม่องคิดจะถวายราชบัลลังก์ให้พระเจ้าอา 3 องค์
พระเจ้าอาทั้ง 3 ไม่มีใ

ครรับ มังหม่องจึงขึ้นว่าราชการเอง
แต่มังหม่องไม่สามารถปกครองข้าราชการได้ จึงเกิดความวุ่นวา
/>
ยทั้งเมืองอังวะพวกข้าราชการทั้งปวงจึงพร้อมใจกันไปเชิ?ตะแคงปดุงมาครองราชสมบัติ
มังหม่องเส

วยราชย์ได้เพียง 11 วัน พระเจ้า ปดุงก็จับสำเร็จโทษเสีย
/>
ฝ่ายพระเจ้าจิงกูจาซึ่งออกไปประพาสหัวเมืองทราบว่ามังหม่องชิงเมืองอังวะได้
ไพร่พลที่ติดต

ามไปด้วยก็พากันหนี
เหลือแต่ขุนนางคนสนิทที่ใกล้ชิดกันไม่กี่คน ครั้นแรกคิดจะไปอยู่เมืองกะแซ
/>
แต่เป็นห่วงราชชนนีจึงลอบลงมาใกล้เมืองอังวะและเสด็จเข้าเมือง
พวกไพร่พลที่รักษาประตูเมืองเห็น
/>
พระเจ้าจิงกูจาก็เกรงกลัวไม่มีใครกล้าต่อสู้ พระเจ้าจิงกูจาจึงเข้าเมืองได้
อะตวนหวุ่นพ่อนางสนมเอก

ที่พระเจ้าจิงกูจาสังฆ่า
ทราบความจึงคุมรี้พลจับพระเจ้าจิงกูจา อะตวนหวุ่นเองฟันพระเจ้าจิงกูจาตาย
/>
ในเมืองอังวะ พระเจ้าปดุงทราบว่า
อะตวนหวุ่นฆ่าพระเจ้าจิงกูจาก็ทรงพระพิโรธและกล่าวว่าควรจะจับ
/>
มาถวายโดยละม่อม ไม่ควรฆ่าฟันเจ้านายโดยพลการ
จึงให้เอาตัวอะตวนหวุ่นไปประหารชีวิตเสีย
/>
ในขณะที่มีการแย่งชิงราชสมบัติกันในพม่านั้น
หัวเมืองขึ้นของพม่าก็พากันกระด้างกระเดื่อง
/>
บังอาจคุมกำลังไปปล้นเมืองอังวะซึ่งเป็นราชธานีก็มี
เมื่อพระเจ้าปดุงได้ครองราชย์ได้ปราบปรามเมือง

ขึ้นเหล่านั้นจนสงบราบคาบ
นอกจากนั้นยังแผ่อำนาจไปตีประเทศมณีปุระทางฝ่ายเหนือและประเทศ
/>
ยะไข่ทางตะวันตกได้แผ่อำนาจไปกว้างขวางยิ่งกว่ารัชกาลใดๆ ในกาลก่อน
/>
สาเหตุแห่งสงคราม สาเหตุแห่งสงคราม
/>
เมื่อพระเจ้าปดุงสามารถปราบเสี้ยนหนามได้ มอ? รามั?
ก็อยู่ในอำนาจทำสงครามที่ใดก็ไ

ด้รับชัยชนะทุกแห่งทุกครั้ง
จึงคิดจะตีเมืองไทยให้เป็นเกียรติยศ ดังเช่นพระเจ้าบุเรงนอง ปัจจุบันปร
/>
ะเทศใกล้เคียงก็ได้ไว้ในอาณาเขต มีรี้พลบริบูรณ ทหารก็อาจหา?ร่าเริง
/>
ครั้นถึงปีมะเส็ง พ.ศ. 2328
พระเจ้าปดุงจึงให้เตรียมกองทัพยอเข้าตีประเทศไทย เกณฑ์ค

นทั้งเมืองหลวง
หัวเมืองขึ้นตลอดจนประเทศราช รวมจำนวนพล 144,000 คน จัดเป็นกระบวนทั

พ 9
ทัพ

การดำเนินสงคราม การดำเนินสงคราม

ฝ่ายพม่า ฝ่ายพม่า
/>
แนวความคิดในการปฏิบัติ
/>
เมื่อพระเจ้าปดุงปราบปรามมอ?และไทยให?่จนราบคาบ
ในขณะนั้นได้ประเทศใกล้เคียงไว้ใชฉบับร่าง สงครามเก้าทัพ โดย พลโทรวมศักดิ์
ไชยโกมินทร์

3

นอาณาเขต
พระเจ้าปดุงได้ทำสงครามได้รับชัยชนะมาทุกแห่ง กำลังพลก็บริบูรณ์
ควรที่จะยกพลเข้า
/>
ตีเมืองไทยเพื่อเป็นการแผ่เดชานุภาพเช่นเดียวกับพระเจ้าหงสาวดีบุเรงนอง
/>
แผนของพระเจ้าปดุงในการเข้าตีไทยครั้งนี้
ต้องการจะเผด็จศึกให้ประสพความสำเร็จโดยฉับ
/>
พลันโดยใช้กำลังพลจำนวนมากเข้าตีไทยทุกด้านพร้อมกัน
โดยกำหนดจุดน้ำหนักในการเข้าตีทางด่า

นพระเจดีย์สามองค์
เพื่อมุ่งเข้ายึดกรุงเทพฯ และใช้กำลังส่วนหนึ่งเข้าทางด่านแม่ละเมา
แขวงเมือง

ตาก โดยตีหัวเมืองเหนือมาตลอดมาบรรจบกับทัพหลวงที่กรุงเทพฯ
และมีกำลังอีกส่วนหนึ่งตีนครล

ำปาง
นครสวรรค์ลงมาบรรจบกับทัพหวงทีกรุงเทพฯ
และมีกำลังส่วนหนึ่งเข้ายึดภาคใต้ไว้ทั้งหมด โ
/>
ดยกำลังอีกส่วนหนึ่งเข้าทางด่านบ้องตี้
ตีหัวเมืองฝั่งตะวันตกของไทยไปบรรจบกันที่ภาคใต้
/>
แผนการยุทธของพม่าครั้งนี้ พม่าวางแผนที่จะยกกำลังเข้าตีไทยถึง 5 ทาง
โดยมุ่งกำลังเข้

าตีพร้อมกัน
พม่าคิดว่าแผนนี้ไทยไม่มีทางที่จะสู้พม่าได้
พระเจ้าปดุงมีความคิดว่าการสงครามครั้งนี้ค
/>
วรจะทำให้ยิ่งให?่กว่าพระเจ้าบุเรงนอง
และมีความมั่นใจว่าศึกครั้งนี้จะสามารถชนะไทยอย่างง่ายดา
/>
ยด้วยเวลาอันรวดเร็ว

การจัดกำลังและแผนการยุทธของพม่า
การจัดกำลังและแผนการยุทธของพม่า

ครั้นถึงปีมะเส็ง พ.ศ. 2328
พระเจ้าปดุงสั่งจัดกองทัพ 9 กองทัพ มีจำนวน 144,000

คน
พร้อมกับกำหนดแผนการดังนี้ (มีทหารต่างชาติที่เป็นเมืองขึ้นอยู่จำนวนหนึ่ง)
/>
กองทัพที่ 1 กองทัพที่ 1
/>
ให้เกงหวุ่นแมงยีมมหาสีหะสุระเป็นแม่ทัพมีกำลังทั้งทัพบก ทัพเรือ จำนวน
10,000 คน

เรือกำปั่นรบ 15 ลำ ชุมพลที่เมืองมะริดเข้าตีทางภาคใต้ของไทย
ตั้งแต่ชุมพรไปถึงสงขลา ส่วนทั
/>
พเรือนั้นได้ตีหัวเมืองชายทะเลตะวันตกตั้งแต่เมืองตะกั่วป่าจนถึงเมืองถลาง
(ส่วนทัพบกมอบม้าให้ 1

,000 ตัว)
/>
เดิมพระเจ้าปดุงให้แมงยีแมงซ่องกะยอเป็นแม่ทัพ
ในขั้นต้นพระเจ้าปดุงให้เป็นพนักงานรวบร

วมเสบียงอาหาร
สำหรับกองทัพหลวงที่จะยกเข้ามาเข้าที่ชุมพลที่เมาะตะมะ แต่เมื่อกองทัพหลวงยก
/>
มาแล้วได้เสบียงอาหารไม่เพียงพอ
พระเจ้าปดุงทรงพิโรธจึงให้ประหารแมงยีแมงซ่องกะยอเสีย

กองทัพที่ 2
กองทัพที่ 2

ให้อนอกะแฝกคิดหวุ่น มีกำลังพล 10,000 คน กองม้า 1,000
เข้าที่ชุมพลที่เมืองทวา

ยเคลื่อนกำลังเข้าไทยทางด่านบ้องตี้
เพื่อตีทางตะวันตกของไทยตั้งแต่เมืองราชบุรี เมืองเพชรบุรี แ
/>
ละบรรจบกับกองทัพที่ 1 ที่เมืองชุมพร

กองทัพที่ 3 กองทัพที่
3ชฉบับร่าง สงครามเก้าทัพ โดย พลโทรวมศักดิ์ ไชยโกมินทร์

4
/>
ให้หวุ่นคะยีสะโคศิริมหาอุจะนาเจ้าเมืองตองอูเป็นแม่ทัพ มีกำลังพล 30,000
คน กองม้า 3

,000
เคลื่อนกำลังเข้าไทยทางเชียงแสนและหัวเมืองริมแม่น้ำน่าน
แม่น้ำยมตั้งแต่เมืองสวรรคโลก สุ

โขทัย พิษณุโลก
อีกส่วนหนึ่งแยกเข้าเชียงใหม่และลำปาง
เมื่อตีได้แล้วเดินทัพมาบรรจบกันที่นคร

สวรรค์
จากนั้นเคลื่อนทัพเข้าตีกรุงเทพฯ

กองทัพที่ 4 กองทัพที่ 4
/>
ให้เมียนหวุ่นแมงยีมหาทิมช่องเป็นแม่ทัพ มีกำลังพล 11,000 คน กำลังม้า
1,100 เข้า

ชุมพลที่เมืองเมาะตะมะ ทำหน้าที่เป็นกองทัพหน้า
เคลื่อนกำลังเข้าตีกรุงเทพฯ โดยผ่านด่านพระเจ

ดีย์สามองค์
/>
กองทัพที่ 5 กองทัพที่ 5

ให้เมียนเมหวุ่นเป็นแม่ทัพมีกำลังพล 5,000
คน เป็นกองหนุนกองทัพที่ 4 เข้าที่ชุมพลเมื

องเมาะตะมะ

กองทัพที่
6 กองทัพที่ 6

ให้ตะแคงกามะราชบุตรที่ 2 (พม่าเรียกศิริธรรมราชา)
เป็นแม่ทัพมีกำลังพล 12,000 คน

กองม้า 1,200
เข้าที่ชุมพลเมืองเมาะตะมะ

กองทัพที่ 7 กองทัพที่ 7
/>
ให้ตะแคงอังกุราชบุตรที่ 3 (พม่าเรียกสะโตะมันชอ) เป็นแม่ทัพมีกำลังพล
11,000 คน กอง

ม้า 1,100 เข้าที่ชุมพลที่เมืองเมาะตะมะ

กองทัพที่
6 และที่ 7 เป็นทัพหน้าของกองทัพหลวง โดยกองทัพที่ 6 เป็นกองทัพที่หนึ่ง
/>
กองทัพที่ 7 เป็นกองทัพที่สอง

กองทัพที่ 8 กองทัพที่ 8
/>
เป็นกองทัพหลวงมีกำลังพล 50,000 คน ช้าง 500 ม้า 5,000
โดยพระเจ้าปดุงดำรงตำแ

หน่งแม่ทัพ เข้าที่ชุมพลที่เมืองเมาะตะมะ
/>
กองทัพที่ 9 กองทัพที่ 9

ให้จอช่องนรธาเป็นแม่ทัพ มีกำลังพล 5,000
คน เคลื่อนกำลังจากเมาะตะมะเข้าทางด่านแ

ม่ละเมา
เพื่อเข้าตีเมืองตากและกำแพงเพชร แล้วมาบรรจบกับกองทัพหลวงที่กรุงเทพฯชฉบับร่าง
สงครามเก้าทัพ โดย พลโทรวมศักดิ์ ไชยโกมินทร์

5
/>
การเคลื่อนทัพหลวง 5 กองทัพ (กองทัพที่ 4 , 5 , 6 , 7 , 8 ) ของพระเจ้าปดุง
ให้พิจาร

ณาเส้นทางที่พม่าเคยใช้มาแล้วในสงครามขนาดให?่
ตามที่สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้ท
/>
รงอธิบายไว้และกองทัพพม่าได้ใช้เส้นทางนี้ครั้งแรก
โดยพระเจ้าตะเบงชะเวตี้ยกกองทัพเข้าตีกรุงศรีอ

ยุธยาในปี พ.ศ. 2091
กองทัพพม่าใช้เส้นทางนี้อีกหลายครั้งในสงครามสำคั?ๆต่อมา

กองทัพที่ 4
ซึ่งเป็นกองทัพหน้าเคลื่อนย้ายทางบก ออกจากเมืองหงสาวดีเป็นกองแรก ไป
/>
สู่เมืองเมาะตะมะ จากเมาะตะมะเคลื่อนย้ายโดยทางเรือไปตามลำน้ำอัตรัน
ผ่านเมืองสมิไปขึ้นบกที่

แม่สกริต
ข้ามแม่น้ำแมสกริตเดินทางต่อไปข้ามแม่น้ำแม่กษัตริย์
จากแม่น้ำแม่กษัตริย์เข้าสู่แดนไ

ทยที่ด่านพระเจดีย์สามองค์
จากพระเจดีย์สามองค์ ๒ บ้านสามสบ ๒ ท่าดินแดง ๒ ห้วยปิล๊อก - ผาอ้น
/>
ข้ามลำน้ำแควน้อยที่ผาอ้น เข้าสู่ไทรโยค(เก่า)
จากไทรโยค(เก่า)ตัดเข้าแควให?่ เข้าสู่เมืองท่ากร
/>
ะดานอยู่ริมแม่น้ำแควให?่ อธิบายเพิ่มเติมจากไทรโยค(เก่า)
จะต้องผ่านสถานที่สำคั?คือ บ้านท่าทุ่

งนา ๒ ช่องกระบอก ๒ หินกอง ๒
บ้าสะแดะ ๒ เมืองท่ากระดาน เมื่อถึงเมืองท่ากระดานเดินลงมาระยะหนึ่


จึงข้ามแม่น้ำแควให?่ที่ด่านกรามช้าง เข้าใจว่าคือแก่งเรียงม่องคอย
เมื่อข้ามน้ำแล้วเดินทัพไปตา

มลำน้ำแควให?่ จะผ่านตับเต่า ม่องล่าย
บ้านแก่งแคบ บ้านหน้าถ้ำ บ้านหมอเฒ่า บ้านวังกุลา
/>
ถึงบ้านช่องสะเดาและบ้านโป่งปัด

เส้นทางเดินทัพของพม่ามาไทย
สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้โปรดเกล้าให้พ

ระยามหาโยธา (เจ่ง)
ต้นสกุลคชเสนีย์ กับพระยาไทรโยค วัดเส้นทางจากเมืองหงสาวดีถึงด่านพระเจ
/>
ดีย์สามองค์ต่อไปจนถึงไทรโยค(เก่า) วัดได้ระยะทางคงจะไม่แน่นอนนัก
เพราะตามหลักฐานพระยาทั้

งสองมิได้เดินวัดตลอดเส้นทาง
บางแห่งบางตอนไต่ถามชาวบ้านที่เคยเดินทางมาแล้วได้ระยะทางพอ
/>
เป็นหลักฐานอันเป็นประโยชน์ในการศึกษาได้ระดับหนึ่ง
/>
จากหงสาวดีถึงเมาะตะมะเดินทางบกคือจากเมืองหงสาวดี ๒ เมืองกะเต้า ๒
เมืองคักคร้า ๒ เมือง

วาน ๒ เมืองกะเทิ่ม ๒ เมืองยางเงิน ๒
เมืองเมาะตะมะ 7,600 เส้น

จากเมาะตะมะถึงแม่น้ำแม่สกริตเดินทางเรือคือ
จากเมาะตะมะ ๒ เมืองสมิ ๒ แม่น้ำแม่สกริต ระ

ยะทาง 5,400 เส้น
/>
จากแม่น้ำแม่สกริตเดินทางบกดังนี้ แม่น้ำแม่สกริต ๒ แม่น้ำแม่กษัตริย์
เข้าเขตไทยที่ด่านพระ

เจดีย์สามองค์ ระยะทาง 1,800 เส้น
/>
จากด่านพระเจดีย์สามองค์ ๒ แม่น้ำสังขรา ๒ บ้านสามสบ ๒ บ้านปิล๊อก ๒ ผาอ้น
๒ ไทรโยค (เก่า)

ระยะทาง 3,310 เส้นชฉบับร่าง สงครามเก้าทัพ โดย
พลโทรวมศักดิ์ ไชยโกมินทร์

6
/>
รวมระยะทางกองทัพพม่าเดินทัพจากหงสาวดี จนถึงเมืองไทรโยค(เก่า)
ตามที่เจ้าพระยามหาโ

ยธากับพระยาไทรโยค วัดโดยประมาณ 18,110 เส้น
หรือประมาณ 727 กิโลเมตร

แผนการยุทธของพม่ามุ่งเข้าตีไทยพร้อมกัน
โดยเฉพาะทางด่านพระเจดีย์สามองค์ ใช้กำลังเ

คลื่อนเข้ามาถึง 5 กองทัพ
มีกำลังพล 89,000 คน ทั้งนี้เพราะใกล้กรุงเทพฯที่สุด ยิ่งไปกว่านั้นพ
/>
ระเจ้าปดุงมีความคิดว่ากำลังหัวเมืองไทยไม่สามารถจะช่วยกรุงเทพได้เพราะพม่าใช้กำลังตรึงไว้
ส่วนท
/>
างใต้พม่ามั่นใจว่ายึดได้ง่ายเพราะกำลังของไทยไม่อาจลงไปช่วยทางใต้ได้
การวางจุดน้ำหนักในการเข้
/>
าตีเมืองกา?จนบุรีพม่ามีความเชื่อว่าพม่ามีกำลังเหนือกว่าไทยคงไม่สามารถต้านทานได้
/>
ความคิดของพระเจ้าปดุงครั้งนี้
เป็นการคิดแต่ทางสำเร็จหรือคิดแต่ทางได้อย่างเดียว หาคิดค
/>
ำนึงถึงทางเสียไม่ทั้งนี้เพราะเจ้าปดุงยังไม่มีความชำนา?ในยุทธวิธีดีพอ
การยกกำลังเข้าพร้อมกันทุก
/>
ทางด้วยกำลังจำนวนมากนั้นเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ยาก
ยิ่งไปกว่านั้นการกระจายกำลังพลออกไปอย่างกว้
/>
างขวางก่อให้เกิดความยากลำบากในการลำเลียงเสบียงอาหาร
ข้อเสียของประการนี้พระเจ้าปดุงมิได้เ
/>
ฉลียวใจไม่คาดคิดว่าเส้นทางพระเจดีย์สามองค์หรือทางไทรโยคจะถูกกองกำลังไทยสกัดปากช่องแคบ
/>
ที่ช่องสะเดา ซึ่งหนังสือไทยรบพม่าใช้คำว่าปิดตรอก

ฝ่ายไทย
ฝ่ายไทย

แนวความคิดในการปฏิบัติ

หน่วยสอดแนมของมอ?
และของกะเหรี่ยงสังขละบุรีไปลาดตะเวนบริเวณพระเจดีย์สามองค์ต่
/>
อเขตแดนพม่า จับทหารพม่าได้ไต่ถามได้ความว่า
พม่าตั้งทัพอยู่ที่เมืองเมาะตะมะมีแผนจะตีเมืองไ
/>
ทยจึงนำข่าวไปยังเมืองกา?จนบุรี (เก่า)
เจ้าเมืองกา?จนบุรีจึงส่งเข้าไปกรุงเทพฯ ในปีมะเส็งวันอาทิ

ตย์ เดือน 12
แรม 9 ค่ำ
หลังจากนั้นหัวเมืองเหนือหัวเมืองใต้ก็บอกข่าวเรื่องพม่าจะเข้ากรุงเทพฯ
/>
ตามลำดับ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
จึงโปรดให้ประชุมพระราชวงศานุวงษ์ ร่

วมกับเสนาอำมาตย์
ข้าราชการฝ่ายทหารพลเรือน ณ หน้าพระที่นั่งทรงปรึกษาหารือการที่จะต่อสู้พม่า
/>
ข้าศึก จากหนังสือพระราชวงศาวดารฯ หนังสือไทยรบพม่า
พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ฯ มิไ
/>
ด้ระบุแนวทางปฏิบัติในการประชุมครั้งนั้น
ประมวลจากการเตรียมการและการดำเนินการต่อสู้ในครั้งนั้
/>
นพอจะวิเคราะห์ได้ว่า ที่ประชุมในครั้งนั้นคงมีความเห็นพ้องกัน
และกำหนดแนวทางปฏิบัติดังนี้

1. ข้าศึกยกเข้าชายแดนไทยจากเหนือของประเทศ
ที่เมืองเชียงแสนลงมาทางใต้ขอ



ประเทศที่เกาะถลาง
ถ้าส่งกองทัพเข้าไปต่อสู้รักษาเขตแดนตามทางที่ข้าศึกยกเข้ามาทุกทาง คงจะกร
/>
ะทำมิได้เพราะฝ่ายเรามีกำลังทหารรวบรวมได้อย่างมากเพียง 70,000 คน
/>
2. หัวเมืองใดที่อยู่ห่างไกลไม่สามารถนำกำลังเข้าไปปกป้องได้
ให้เจ้าเมืองนั้นๆทำกา



ต่อสู้ไปก่อน
โดยเฉพาะเมืองทางใต้ชฉบับร่าง สงครามเก้าทัพ โดย พลโทรวมศักดิ์ ไชยโกมินทร์
/>
7

3. จากเหตุการณ์ที่ไทยรบกับพม่าในอดีต เช่นสงครามช้างเผือก
คราวเสียเอกราชใ

นปี

พ.ศ. 2112 และคราวพ่ายแพ้เสียอิสระภาพปี
พ.ศ. 2310 นั้น การรบแต่ละครั้งขั้นสุดท้ายเราถอย
/>
นำกำลังเข้าในกำแพงพระนคร เพื่อใช้เป็นแนวตั้งรับต่อสู้กับพม่า
การใช้กำแพงเมืองป้องกันแต่ทั้งส

ามครั้งบทเรียนในอดีตจึงมีแนวคิดว่า
การทำสงครามครั้งนี้จะต้องนำกำลังไปต่อสู้ข้าศึกนอกพระนคร
/>
โดยนำกำลังไปสกัดกั้นข้าศึก ณ ตำบลสำคั?ที่ข้าศึกจะเข้ามา
โดยเลือกภูมิประเทศที่เกื้อกูลในการ

ต่อสู้

4.
แนวความคิดในการรบกวนทำลายการส่งกำลังบำรุงของพม่า ทางบกที่พม่าใช้เดิ
/>
นทัพ

กับเส้นทางน้ำที่พม่าใช้เป็นประจำ
คือลำน้ำแควน้อยโดยลำเลียงมาจากบ้านสามสบ หรือท่าดินแดง
/>
ล่องมาขึ้นบกที่พุตะไคร้ เส้นทางบกจากเมืองทวายมาทางด่านบ้องตี้

5.
แนวความคิดขบวนการต่อสู้ที่จะเกิดประโยชน์ในการทำสงคราม ให้นำมาใช้ทุก
/>
ขบวนการเช่น กองโจร การลวง การจู่โจม ฯ
โดยมีตัวอย่างจากอดีตของวีระกษัตริย์ของไทยเรา ได้

เคยทรงปฏิบัติมา
ในรัชสมัยของพระองค์เช่น สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเจ้าตากสิ
/>
นมหาราช

เมื่อได้แนวความคิดดังที่ได้เสนอมาแล้ว
จึงได้ทำการวางแผนเพื่อการปฏิบัติดังนี้

1.
ให้จัดกำลังหนึ่งกองทัพไปตรึงข้าศึกทางด้านเหนือ บริเวณจังหวัดนครสวรรค์ โด
/>


สกัดกำลังทางด้านนี้ มิให้ข้าศึกเข้ากรุงเทพฯได้

2.
ให้จัดกำลังหนึ่งกองทัพขึ้นไปจังหวัดกา?จนบุรี (เก่า)
เข้ายึดพื้นที่ที่เกื้อกูลในการ

ตั้ง

รับและตีตอบได้
พร้อมสกัดมิให้ข้าศึกเคลื่อนกำลังออกจากพื้นที่บังคับได้
โดยพิจารณาพื้นที่บริเวณ

บ้านหน้าถ้ำ บ้านหมอเฒ่า บ้านช่องสะเดา
และบ้านโป่งปัด ซึ่งอยู่เหนือเมืองกา?จนบุรี(เก่า)ขึ้นไป

3.
ให้จัดกำลังอีกทัพหนึ่งเป็นกองหนุน
อยู่ในพระนครเพื่อสนับสนุนกำลังส่วนอื่นใน

กรณีจำเป็น
ส่วนหัวเมืองภาคใต้แจ้งกับเจ้าเมือง
ให้รักษาเมืองของตนไว้ให้สุดความสามารถไปก่อน
/>
ที่กองทัพเมืองหลวงจะลงไปช่วยหลังจากเสร็จศึกที่เมืองกา?จนบุรี

4.
จัดตั้งกองโจรปฏิบัติการทำลายขบวนการส่งกำลังเสบียงอาหาร กระสุนดินดำบริเว
/>


ลำน้ำแควน้อย โดยเพ่งเล็งที่พุตะไคร้และแนวลำน้ำแควน้อยขึ้นไป
บริเวณทางบกให้ระวังเส้นทางจา

กทวายลงมาด่านบ้องตี้
/>
เมื่อได้กำหนดแนวความคิดและแผนการปฏิบัติดังกล่าวแล้ว จึงจัดกำลังดังนี้
/>
การจัดกำลังและแผนในการปฏิบัติของไทย
การจัดกำลังและแผนในการปฏิบัติของไทยชฉบับร่าง สงครามเก้าทัพ โดย พลโทรวมศักดิ์
ไชยโกมินทร์

8

เมื่อได้สำรวจกำลังพลแล้วปรากฏว่ามีกำลังพลเพียง
70,000 คน ซึ่งน้อยกว่าข้าศึกมาก ดัง

นั้นจึงจัดกำลังได้ 4 กองทัพ
คือ

กองทัพที่ 1 กองทัพที่ 1

ให้กรมพระราชวังหลัง
(เวลานั้นยังดำรงพระยศเป็นเจ้าฟ้ากรมหลวงอนุรักษ์เทเวศน์) เป็นแม่

ทัพ
มีกำลังพล 15,000 คน ยับยั้งข้าศึกที่นครสวรรค์
มิให้ข้าศึกส่วนที่จะเคลื่อนกำลังลงมาทางกรุงเ

ทพฯ

กองทัพที่ 2
กองทัพที่ 2

ให้กรมพระราชวังบวรฯ เป็นแม่ทัพมีกำลังพล 30,000 คน
เนื่องจากทัพที่ 2 มีความ
/>
สำคั?เพราะจะต้องสกัดกั้นกองทัพหลวงของพม่าซึ่งมีกำลังมาก
มิให้เข้ากรุงเทพฯได้ และต้องขับไล่
/>
พม่าให้ออกไปพ้นราชอาณาเขตให้จงได้

กองทัพที่ 2
นี้ให้พระยามหาโยธาจัดกองมอ? 3,000 คน ไปทำหน้าที่กองรักษาด่า

นรบ
/>
กองทัพที่ 3 กองทัพที่ 3

ให้เจ้าพระยาธรรมา(บุ?รอด) เป็นแม่ทัพ
เจ้าพระยายมราชเป็นผู้ช่วยมีกำลัง 5,000

คน
ทำหน้าที่รักษาเส้นทางลำเลียงให้แก่กองทัพที่สอง
ป้องกันปีกของกองทัพที่สองและสกัดกั้นพม่

าที่จะยกเข้ามาตีเมืองราชบุรี
เพชรบุรี เพื่อที่จะไปบรรจบกับกองทัพที่เมืองชุมพร

กองทัพที่ 4
กองทัพที่ 4

เป็นกองหลวงมีกำลัง 20,000 คน เตรียมกำลังไว้ที่กรุงเทพฯ
ทำหน้าที่เป็นกองหนุน

เพื่อช่วยด้านที่เห็นว่าจำเป็น
สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ทรงบังคับบั?ชากำลังนี้ด้วยพระองค์เอง
/>
ภายหลังจัดกำลังให้พระยาสีหราชเดโช พระยาท้ายน้ำ พระยาเพชรบุรี
คุมกำลังพล

500 คน ทำหน้าที่กองโจรคอยทำลายกองลำเลียงเสบียงของพม่า
ที่พุตะไคร้เส้นทางลำน้ำแควน้อ



การดำเนินกลยุทธ
การดำเนินกลยุทธ

การรบที่ช่องสะเดา ๒ โป่งปัด
/>
ฝ่ายไทยทราบว่าพม่าจะยกกำลังมาส่วนมากเข้าตีกรุงเทพฯ
โดยเฉพาะจุดน้ำหนักในการเข้า

ตีครั้งนี้
พม่ามุ่งยกกำลังเข้าทางด่านพระเจดีย์สามองค์โดยใช้กำลังมา
กรมพระราชวังบวรฯมหาสุรสิ

งหนาท ซึ่งเป็นแม่ทัพกองทัพที่สอง
รับผิดชอบพื้นที่เมืองกา?จนบุรี เพื่อทำลายและขับไล่ข้าศึกส่ว
/>
นนี้ให้พ้นไปจากราชอาณาเขต จึงให้พระยามหาโยธา(เจ่ง) คุมมอ?จำนวน 3,000 คน
วางกำลัง

ที่ท่ากระดานด่านกรามช้าง (แก่งเรียงและม่องคอย)
ทำหน้าที่กองรักษาด่านรบ ( Combat out post

)
เพื่อรั้งหน่วยการรุกเข้าของข้าศึกและให้จัดหมู่ตรวจ
โดยจัดกำลังข้ามน้ำไปอยู่ใต้เมืองท่ากระดาน
/>
เพื่อให้ทราบการเคลื่อนไหวของข้าศึกตลอดเวลา
ทั้งนี้เพื่อให้ส่วนให?่มีเวลาพอในการวางกำลังต้านชฉบับร่าง สงครามเก้าทัพ โดย
พลโทรวมศักดิ์ ไชยโกมินทร์

9

ทานข้าศึก
โดยจะใช้โป่งปัดเป็นแนวต้านทานหลัก (Mainline of Resistance) ในขั้นต้น
และเมื่

อมีโอกาสกลับทำการรุกก็จะใช้แนวนี้เป็นแนวออกตี (Line of
Deporruer)

ประมาณเดือนกลางเดือนธันวาคมปี พ.ศ. 2328
ด่านกรามช้างกองรักษาด่านรบของไทย ใ

นความควบคุมของพระยามหาโยธา (เจ่ง)
ได้ต่อสู้กับกองทัพที่สี่ของพม่า กำลังของไทยน้อยกว่าจึงถ
/>
อนตัวและถอยมารวมกับกำลังส่วนให?่ที่โป่งปัด
ซึ่งขณะนั้นกองทัพที่สองของกรมพระราชวังบวรฯได้

พร้อมอยู่แล้ว
กองทัพที่สี่ของพม่าได้ไล่ติดตามกองรักษาด่านของพระยามหาโยธามา พอมาถึงค่ายไ
/>
ทยซึ่งตั้งมั่นอยู่ที่โป่งปัด
พม่าก็ตรงเข้าโจมตีไทยทันทีโดยมั่นใจว่าจะโถมกำลังเข้าทะลุทะลวง(เจาะ)
/>
ฝ่ายไทยโดยฉับพลัน แต่ฝ่ายไทยได้เตรียมการอยู่ก่อนแล้ว
และทหารไทยมีความสดชื่นมีเวลาพักอ

ยู่หลายวัน
ได้เข้ารบกับพม่าเป็นสามารถล้อมจับพม่าได้กองหนึ่ง ฝ่ายไทยเข้ากระหน่ำพม่า
พม่าเก

รงจะเสียทีจึงไปตั้งมั่นอยู่ที่ช่องสะเดา (แนวเขารัก)
หวังจะรอกำลังกองทัพที่ห้าของพม่าเข้ามาสมทบ เ
/>
พื่อรวมกำลังเข้าโจมตีไทยต่อไปใหม่ พอดีกองทัพที่ห้าของพม่า
ในความควบคุมของเมียนเมหวุ่นก็

มาถึง
จึงวางกำลังต่อจากกองทัพที่สี่ของพม่า
เพื่อมุ่งรวมกำลังเข้าโจมตีไทยพร้อมกันทั้งสองกองทัพ
/>
ดังนั้นกำลังของพม่าทั้งสองกองทัพจึงเป็นแนวเดียวกัน ซึ่งมีกำลัง 16,000
คน

เมื่อกองหน้าที่ของเมียนเมหวุ่นตัดเข้ามาถึงเมืองท่ากระดาน
หลักฐานของพม่าเขียนไว้ดังนี้

iลณ
ครั้นยกพ้นท่าไร่ไปสามตำบลไปถึงคลองท่ากระดาน
ข้างฝั่งตะวันตกก็พบกองทัพไทยคอยอยู่ 2

ทัพ ก็ได้รบพุ่งเป็นสามารถ
ได้รบกันอยู่สองวันณ ฝ่ายมะยินหวุ่นยีฯได้ยกตามกองทัพไทยมาทางฝั่งเห
/>
นือแม่น้ำท่ากระดาน ฝ่ายมะยอกแบดฯนั้นยกตามกองทัพไทยทางฝั่งใต้แม่น้ำนั้น
ครั้นยกมาได้ตำบ

ลหนึ่งก็ถึงกา?จนบุรีพบทหารไทย 2 ๒3 หมื่นคน
ในเวลานั้นพระราชโอรสของพระเจ้าอังวะ 2 พระอ

งค์ยกทัพ 12
ทัพมาทันก็บรรจบกันเข้าตีกองทัพไทย
ที่กา?จนบุรีเป็นสามารถฝ่ายพม่าเสียที่ไทยณl่
/>
เมื่อพระองค์เริ่มวางแผนนั้น ได้รับสั่งให้พระยาสีหราชเดโชไชย พระยาท้ายน้ำ
พระยาเพชรบุ

รีนำกำลัง 500 คน
ไปตั้งฐานปฏิบัติการที่พุตะไคร้เพื่อซุ่มโจมตี (Ambush)
หน่วยลำเลียงและแย่งชิงเ

สบียงข้าศึก
ซึ่งจะลำเลียงมาทางลำน้ำแควน้อยและเมืองทวาย
เพื่อมิให้ข้าศึกลำเลียงเสบียงได้สะดวก
/>
เมื่อเริ่มปฏิบัติการพระยาทั้งสามทำงานด้วยความกล้าหา? ขยันหมั่นเพียร
จับเชลยรวมทั้งเสบียงอา

หารมากมาย
ภายหลังปรากฏว่าพระยาทั้งสามทำงานไม่ได้ผลเกรงกลัวข้าศึก
จึงสั่งให้ประหารชีวิตพระ

ยาทั้งสามเสีย
และทรงให้พระองค์เจ้าขุนเณรทำหน้าที่แทน ทรงเพิ่มกำลังให้อีก 1,000 คน รวม
/>
ทั้งหน่วยซุ่มโจมตีที่พุตะไคร้มีกำลัง 1,500 คน
พระองค์เจ้าขุนเณรเป็นบุคคลมีไหวพริบและกล้าหา

?
แบ่งกำลังออกมาลาดตะเวนในลำน้ำแควน้อยจนถึงเมืองท่าขนุน
ทางบกคอยระวังการส่งเสบียงจา

กทวายมายังบ้องตี้
และสามารถส่งข่าวถึงกันได้
เมื่อเห็นข้าศึกลำเลียงเสบียงมาก็รวมกำลังเข้าปล้นเ

สบียงของข้าศึก
และโจมตีข้าศึกให้ลำเลียงเสบียงไม่สะดวกทำให้ทหารในกองทัพที่สี่และห้าของพม่า
/>
มีความอดอยาก พระเจ้าปดุงทรงทราบการศึกครั้งนี้ว่า
กองทัพพม่าที่ยกมาทางด่านพระเจดีย์สามอ

งค์คราวนี้เสบียงมิได้รับตามปกติ
เพราะถูกไทยตีชิงไปพระเจ้าปดุงทรงทราบว่ากองทัพหน้ามาตั้งประชิชฉบับร่าง
สงครามเก้าทัพ โดย พลโทรวมศักดิ์ ไชยโกมินทร์

10
/>
ดอยู่กับกองทัพไทย
ให้แบ่งเสบียงในกองทัพหลวงส่งมายังกองทัพหน้าก็ถูกไทยตีชิงเอาไปเสียเนืองๆ
/>
ครั้งหนึ่งให้เอาเสบียงบรรทุกช้าง 60 กว่าเชือก ทหารหาบหามเสบียงกว่า 300
คนไปไม่ทันถึงเมืองท่า

กระดาน ก็ถูกกองโจรไทยตีชิงเอาไปหมด
/>
ในโอกาสเดียวกันนั้นกรมพระราชวังบวรฯได้ใช้ปืนให?่โดยใช้ท่อนไม้เป็นกระสุนระดมยิงข้าศึ
/>
กตลอดเวลา การใช้ท่อนไม้เป็นกระสุนเพื่อไม่ให้ต้องลำเลียงกระสุนจากกรุงเทพฯ
เพราะเสียเวลาและ

สามารถยิงได้ตลอดเวลาลำกล้องไม่ร้อน
ทำให้ข้าศึกเสียหายยับเยินมากฝ่ายพม่าพยายามจะยิงปืนให

?่ตอบโต้บ้าง
แต่ไม่อาจกระทำได้เพราะปืนให?่โบราณเป็นกระสุนวิถีราบ จะต้องลดลำกล้องให้ต่ำ
/>
ดังนั้นข้าศึกจึงตั้งเชิงเทินขึ้นเพื่อตั้งปืนให?่
แต่ถูกปืนให?่ของไทยยิงเชิงเทินของพม่าพัง พม่าจึงไม่
/>
สามารถใช้ปืนให?่ได้

นอกจากพระองค์ใช้กระสุนไม้แล้ว
พระองค์ยังทำการลวงพม่าโดยเวลาค่ำให้ทหารจัดเป็นกอง
/>
ทหารเป็นขบวนมีธงทิวเดินไปหลังแนวรบแล้วเวลาสายๆให้เดินทัพกลับชูธงทิวเป็นขบวนเดินฝุ่นตลบ
/>
ทำให้พม่าเข้าใจว่าทหารไทยเพิ่มกำลังขึ้นเรื่อยๆ
/>
กองทัพที่หกและที่เจ็ดของพม่าพยายามหนุนกำลังเข้าช่วย
กองทัพที่หกตั้งอยู่ที่ท่าดินแดงกอง

ทัพที่เจ็ดตั้งที่สามสบ
ส่วนพระเจ้าปดุงคุมกองทัพที่แปดอยู่ปลายแม่น้ำลอนซีพ้นด่านพระเจดีย์สามอง
/>
ค์เข้ามาเพียง 2 ระยะ
กองทัพที่หกและที่เจ็ดไม่อาจช่วยกองทัพที่สี่และที่ห้าได้ เป็นการเอากำลัง
/>
มาอัดและทุกข์ทรมานด้วยการขาดแคลนอาหารอีกด้วย

เกี่ยวกับกองทัพที่ 6
๒ 7 ๒ 8 หลักฐานของพม่าเขียนไว้ว่า i`พระเจ้ากรุงอังวะยกพยุหกองทัพใ
/>
ห?่จากตำบลอะลันแด
ทรงประทับแรมสองตำบลถึงตำบลท่าไร่ก็ตั้งลงที่ทุ่งห?้าท่าไร่ เวลานั้นลินชันอ
/>
มูนายทหารได้กลับจากกา?จนบุรีก็ทูลตามที่เสียทีแก่ไทยณlา
ข้อความที่เสนอมานี้ทำให้พิจารณาได้ว่า

กองทัพที่ 6 ๒ 7 คงจะอยู่ที่ใด
เพราะท่าไร่(ไร่ป้า) อยู่ท่างใต้สามสบและท่าดินแดงหลายสิบกิโลเมตร
/>
ในช่วงเวลานี้เองพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ
ทรงปริวิตกว่ากำลังของพระอนุชามีน้อยเก

รงจะสู้พม่าไม่ได้
จึงยกกองทัพหลวงมาจากกรุงเทพฯ เสด็จออกจากกรุงเทพฯ วันอาทิตย์ เดือนยี่ ขึ้
/>
น 9 ค่ำ เมื่อไปถึงค่ายของกรมพระราชวังบวรฯ ได้สนทนาปราศัยกันพอสมควร
กรมพระราชวังบวรฯ

จึงกราบทูลว่า อย่าทรงวิตกการรบทางนี้เลย
ขอให้เสด็จกลับพระนครเถิด เผื่อข้าศึกหนักหนามาทางอื่
/>
นจะได้ใช้กองทัพหลวงแก้ไขเหตุการณ์ เพราะทางนี้ ข้าศึกอดอยากมาก
ขวั?ก็เสียกำลังจะหาโอกาสที่

ข้าศึกอ่อนกำลังมากๆ
เข้าโจมตีพร้อมกันโดยฉับพลัน เชื่อมั่นว่าข้าศึกจะต้องแตกพ่ายเป็นแน่แท้ สมเ
/>
ด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ทรงพอพระราชหฤทัย ยกกองทัพหลวงกลับคืนพระนคร
/>
ครั้นถึงวันศุกร์ เดือน 3 แรม 4 ค่ำ ตรงกับวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ.
2328เวลาเช้ามืชฉบับร่าง สงครามเก้าทัพ โดย พลโทรวมศักดิ์ ไชยโกมินทร์
/>
11

ด กรมพระราชวังบวรฯ
พิจารณาว่าข้าศึกอ่อนกำลังลงมากและขวั?เสียมาก จึงสั่งให้ทุกหน่วยเข้าตีพ
/>
ม่าตลอดแนวโดยฉับพลัน
เป็นการเข้าตีตรงหน้าต่อแนวพม่าซึ่งเป็นการดำเนินกลยุทธโดยการเข้าตีเส้
/>
นในกองทัพพม่าถูกโจมตีตลอดแนวอย่างรุงแรง
กำลังส่วนหนึ่งของไทยฉวยโอกาสเข้าเจาะแนวพม่าส่
/>
วนที่อ่อนแอที่มีการต่อสู้ไม่เข้มแข็งได้
เมื่อเจาะได้แล้วกำลังส่วนหนึ่งของไทยก็ระดมเข้าโหมโจมตีอย่
/>
างต่อ
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006, Simple Machines
Simple Audio Video Embedder

XHTML | CSS | Aero79 design by Bloc หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.118 วินาที กับ 17 คำสั่ง