เรือนไทย
ยินดีต้อนรับ ท่านผู้มาเยือน
กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
ข่าว: การแนบไฟล์ กรุณาใช้ชื่อไฟล์ภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ
หน้า: 1 2 [3] 4 5
  พิมพ์  
อ่าน: 16925 สมุดข่อยฉบับวัดหัวกระบือ อัญมณีแห่งกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย
pipat
แขกเรือน
นิลพัท
*******
ตอบ: 1802


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 30  เมื่อ 17 มิ.ย. 06, 22:36

 จำได้ว่าเคยเอ่ยถึงด๊อกคนนี้ไว้หนหนึ่ง ว่าแกเขียนเรื่องเหมาะกับมัคคุเทศก์เอาไปใช้อ้างอิง เพราะทำให้ทุกอย่างอธิบายได้ตามคติจักรวาลหมด ซึ่งผมไม่เห็นตามนั้น
จำได้ว่า เฮียเออร์วิ่นสรุปไว้คำเดียว ผมก็เลยไม่ต้องใช้หนังสือของท่านสะน๊อดกร๊าสสส์นี้อีก

แต่เมื่อคุณโพธิ์ประทับช้าง มาอ้างถึงแกอีก ความทรงจำทำให้ต้องเตือนท่านอื่นๆว่าหนังสือของพี่คนนี้ ไม่เหมาะกับน้องๆที่ภูมิต้านทานต่ำ เพราะแกสามารถอ้างคติผสมปนเป ระหว่างฮินดู พุทธอโศก พุทธลังกา มหายานญี่ปุ่น วัชรญานธิเบต.....มาเขมร ชวา พม่า โดยไม่ต้องนึกถถถึงความต่างศักย์ สุดแท้แต่กลอนจะพาไป เป็นไฮบริด สะกอล่าร์ขั้นสูง

ไม่แนะนำให้อ่านนะครับ ใครมี ให้เอามาฝากผมไว้ ...55555
บันทึกการเข้า
โพธิ์ประทับช้าง
องคต
*****
ตอบ: 399


ความคิดเห็นที่ 31  เมื่อ 18 มิ.ย. 06, 03:12

 ผมไม่เห็นด้วยกับคุณ Pipat ครับ

1. คุณ Pipat อ้างถึงหนังสือสัญลักษณ์แห่งพระสถูปว่าเหมาะกับมัคคุเทศน์ไว้ใช้อ้างอิง
ตอบ คุณ Pipat ช่วยยกตัวอย่างตำรามัคคุเทศน์เล่มไหนบ้างที่เอาหนังสือเล่มดังกล่าว
ไปอ้างอิงหรือสอนมัคคุเทศน์บ้าง ส่วนใหญ่หนังสือเล่มนี้ใช้กับหนังสือและตำราทางวิชาการ
ด้านสถาปัตยกรรมทางศาสนา บุคลากรที่แปลหนังสือเล่มนี้ ก็ประกอบด้วยนักวิชาการ
หลายๆ ท่านมีตำแหน่งและความรู้ที่น่าเชื่อถือ ถ้าไม่น่าสนใจ ผมคิดว่าท่านคงแปลเล่มอื่นดีกว่า
เล่มนี้ ถึงจะไม่หนาแต่ต้องค้นอย่างหนักมาก

2. คุณ Pipat อ้างว่าความทรงจำทำให้ต้องเตือนท่านอื่นๆว่าหนังสือของพี่คนนี้
ไม่เหมาะกับน้องๆที่ภูมิต้านทานต่ำ
ตอบ อาจจะหมายถึงคุณ Pipat คนเดียวหรือเปล่าที่ภูมิต้านทานต่ำ ? ผมคนนึงที่ไม่เห็นด้วยกับคุณ
หลังจากที่อ่านหนังสือเล่มนี้แล้ว ผมก็พบทั้งข้อดีและข้อเสีย ผมเชื่อว่าไม่มีสิ่งไหนในโลกนี้
ที่ Perfect 100% แต่ละคนต่างก็มีสติปัญญา จึงขึ้นอยู่กับว่า จะเลือกและใช้อะไรต่างหาก
อีกประการ ท่านที่เขียนก็เป็น ดร. การทำ ดร. ก็คงไม่ใช่เรื่องง่ายๆ หรือ ได้กันมามั่วๆ
ต้องทำการศึกษาและวิจัย ให้เกียรติเค้าสักหน่อยก็จะดีนะครับ ผมว่าไม่ต้องทำให้คนอื่นดูแย่
เราก็ดูดีได้ ให้เกียรติกันจะสร้างสรรค์ สังคมอินเตอร์เน็ทก็น่าอยู่กว่ากันเป็นไหนๆ

3. เพราะแกสามารถอ้างคติผสมปนเป ระหว่างฮินดู พุทธอโศก พุทธลังกา มหายานญี่ปุ่น
วัชรญานธิเบต.....มาเขมร ชวา พม่า โดยไม่ต้องนึกถถถึงความต่างศักย์ สุดแท้แต่กลอนจะพาไป
เป็นไฮบริด สะกอล่าร์ขั้นสูง
ตอบ ความต่างศักย์ของคุณ Pipat นั่นก็เป็นความเข้าใจของคุณ คนอื่นอาจจะคิดไม่เหมือนคุณ
ก็ได้ครับ
บันทึกการเข้า
โพธิ์ประทับช้าง
องคต
*****
ตอบ: 399


ความคิดเห็นที่ 32  เมื่อ 18 มิ.ย. 06, 04:16


อยู่กันเป็นคู่ๆ เกาะอยู่บนต้นไม้ออกดอกสะพรั่ง
บันทึกการเข้า
โพธิ์ประทับช้าง
องคต
*****
ตอบ: 399


ความคิดเห็นที่ 33  เมื่อ 18 มิ.ย. 06, 04:17


ธรรมชาติ
บันทึกการเข้า
โพธิ์ประทับช้าง
องคต
*****
ตอบ: 399


ความคิดเห็นที่ 34  เมื่อ 18 มิ.ย. 06, 04:19


ธรรมชาติ
บันทึกการเข้า
โพธิ์ประทับช้าง
องคต
*****
ตอบ: 399


ความคิดเห็นที่ 35  เมื่อ 18 มิ.ย. 06, 04:20


ธรรมชาติ
บันทึกการเข้า
โพธิ์ประทับช้าง
องคต
*****
ตอบ: 399


ความคิดเห็นที่ 36  เมื่อ 18 มิ.ย. 06, 04:21


ธรรมชาติ
บันทึกการเข้า
โพธิ์ประทับช้าง
องคต
*****
ตอบ: 399


ความคิดเห็นที่ 37  เมื่อ 18 มิ.ย. 06, 04:22


ธรรมชาติ
บันทึกการเข้า
โพธิ์ประทับช้าง
องคต
*****
ตอบ: 399


ความคิดเห็นที่ 38  เมื่อ 18 มิ.ย. 06, 04:23


ธรรมชาติ
บันทึกการเข้า
โพธิ์ประทับช้าง
องคต
*****
ตอบ: 399


ความคิดเห็นที่ 39  เมื่อ 18 มิ.ย. 06, 04:24


ธรรมชาติ
บันทึกการเข้า
โพธิ์ประทับช้าง
องคต
*****
ตอบ: 399


ความคิดเห็นที่ 40  เมื่อ 18 มิ.ย. 06, 04:25


ธรรมชาติ
บันทึกการเข้า
โพธิ์ประทับช้าง
องคต
*****
ตอบ: 399


ความคิดเห็นที่ 41  เมื่อ 18 มิ.ย. 06, 04:28


สีของพื้นหลังในแต่ละภาพ
จะบอกถึงช่วงเวลาต่างๆ ของวัน
ตั้งแต่เช้ายันค่ำครับ
บันทึกการเข้า
Hotacunus
องคต
*****
ตอบ: 613


AD FRANCIAM


ความคิดเห็นที่ 42  เมื่อ 18 มิ.ย. 06, 05:46

 ถึงคุณโพธิประทับช้างครับ

สีสันสวยมากเลยครับ ถ้าไม่บอกว่าเป็นสมุดข่อย หรือไม่เห็นรอยชำรุด ผมคงนึกว่าเป็นภาพวาดสมัยนี้เป็นแน่

ว่าแต่ "วัดหัวกระบือ" อยู่ที่ไหนหรือครับ ฮืม

แล้วที่ว่าเขียนเรื่อง “พระพุทธคุณคัมภีร์” นั้น ไม่ทราบว่ามีท่านใดได้ศึกษาเนื้อหาของสมุดข่อยเล่มนี้ หรือยังครับ ?

อีกคำถามนะครับ ภาพวาดที่คุณโพธิ์ประทับช้าง นำมาให้ชมนี้ เป็นภาพที่เป็นองค์ประกอบของฉากป่าหิมพานต์หรือเปล่าครับ

สมุดข่อยที่ผมเคยศึกษาคร่าวๆ คือ สมุดภาพไตรภูมิ ครับ ไม่แน่ใจว่าจะมีเนื้อหาแบบเดียวกับ สมุดข่อยฉบับวัดหัวกระบือหรือเปล่า

เนื้อหาของสมุดภาพไตรภูมิจะเริ่มด้วยภาพวาดเชิงรูปธรรมของโครงสร้างจักรวาล ภูมิต่างๆ ตามปรัชญาพราหมณ์-พุทธ จากนั้นก็จะเป็นภาพของแกนโลก (ภูเขาสิเนรุ) และทวีปใหญ่ทั้ง ๔ จากนั้นก็เป็นภาพเน้นเฉพาะชมพูทวีป โดยเริ่มจากป่าหิมพานต์ มายังชมพูทวีป อันเป็นที่ตั้งของ ๑๖ ชนบท ในช่วงนี้ ก็มีการแทรกภาพอดีตชาติ และพุทธประวัติ จนมาจึงแผนที่ของเอเชียอาค์เนย์ ต่อไปจนถึงเกาะลังกา อีกตอนก็เป็นแผนที่ชายฝั่งทะเลจาก กรุงจีน ไปถึงเมืองมกร (แถบๆ ตะวันออกกลาง)
บันทึกการเข้า
pipat
แขกเรือน
นิลพัท
*******
ตอบ: 1802


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 43  เมื่อ 18 มิ.ย. 06, 09:49

 ถามคุณโพธิประทับช้างนะครับ ว่า

นอกจากเล่มนี้แล้ว คุณใช้เล่มอื่นช่วยในการทำความเข้าใจจักรวาลวิทยาฮินดู และจักรวาลวิทยาของพุทธหรือไม่
หนังสืออ้างอิงที่ท้ายเล่มของคุณสน็อดกราส(ชื่ออ่านยากจริง) คุณอ่านแล้วกี่เล่ม

แล้วค่อยมาถกกันนะครับ
บันทึกการเข้า
กุรุกุลา
พาลี
****
ตอบ: 235


ความคิดเห็นที่ 44  เมื่อ 18 มิ.ย. 06, 21:52

 สวยงามมากครับ สมกับเป็นคุณโพธิ์ประทับช้างจริงๆ อยากทราบว่าภาพให้คห 23และ 24 มาจากวัดใดครับ

ผมก็ไม่ค่อยเห็นด้วยกับสัญลักษณ์พระสถูปเท่าไรนัก คิดว่ามันกว้างเกินไปที่จะกำหนดกฏเกณท์บางอย่างเพื่อให้ครอบคลุมกับสถูปทั่วโลก แม้ว่าจะเป็นพุทธศาสนาเหมือนกันแต่บางนิกายก็มีความคิดที่ต่างกันแทบทาบกันไม่ติด ทั้งมหายาน เถรวาท สรรวาสติวาท โยคาจารย์ ตันตระ ยังมิพักกล่าวถึงคติของแต่ละท้องถิ่นเสียอีก
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 2 [3] 4 5
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006, Simple Machines
Simple Audio Video Embedder

XHTML | CSS | Aero79 design by Bloc หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.08 วินาที กับ 19 คำสั่ง