เรือนไทย
ยินดีต้อนรับ ท่านผู้มาเยือน
กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?
ข่าว: การแนบไฟล์ กรุณาใช้ชื่อไฟล์ภาษาอังกฤษเท่านั้นครับ
หน้า: 1 2 3 [4] 5
  พิมพ์  
อ่าน: 52546 สมุนไพรเด้อคับ
ติบอ
นิลพัท
*******
ตอบ: 1906


Smile though your heart is aching.


ความคิดเห็นที่ 45  เมื่อ 12 มี.ค. 06, 17:14

 นักวิชาการยังแบ่งพืชในอันดับ Ranales บางชนิดเอาไว้ด้วยกันอีก เช่น พืชในวงศ์จำปี-จำปา และพืชในวงศืกระดังงา หรือวงศ์น้อยหน่า
เนื่องจากเป็นดอกสมบูรณ์เพศ มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมียจำนวนมาก และเกสรแต่ละอันแยกออกจากกันแต่ติดบนฐานหรือแกน (Torus) เดียวกัน


เช่นในภาพ เป็นดอกของพืชในวงศ์ Annonaceae ที่ผ่าเพื่อให้เห็นเกสรทั้ง 2 เพศ นะครับ
ส่วนสีเหลืองเป็นเกสรตัวเมีย และส่วนสีขาวเป็นเกสรตัวผู้ ซึ่งติดอยู่บนฐานเดียวกันครับ
บันทึกการเข้า
ติบอ
นิลพัท
*******
ตอบ: 1906


Smile though your heart is aching.


ความคิดเห็นที่ 46  เมื่อ 12 มี.ค. 06, 17:18

 ส่วนภาพด้านบน เป็นดอกของพืชในวงศ์ Magnoliaceae ที่ผ่าออกเพื่อแสดงให้เห็นส่วนต่างๆของดอก
ซึ่งผมนำมาเปรียบเทียบกันเพื่อให้เห็นความคล้ายคลึงกันของทั้ง 2 วงศ์ นะครับ  
บันทึกการเข้า
ติบอ
นิลพัท
*******
ตอบ: 1906


Smile though your heart is aching.


ความคิดเห็นที่ 47  เมื่อ 12 มี.ค. 06, 17:23

 และเนื่องมาจากมีเกสรตัวเมียลักษณะดังกล่าว จึงทำให้ผลของพืชในสกุลนี้เป็นผลกลุ่มเหมือนที่ได้เล่าไปแล้วในความเห็นที่ 24 นะครับ  
บันทึกการเข้า
ติบอ
นิลพัท
*******
ตอบ: 1906


Smile though your heart is aching.


ความคิดเห็นที่ 48  เมื่อ 12 มี.ค. 06, 17:24


เอาภาพผลกลุ่มมาให้ชมกันอีกนิดหน่อยแล้วกันนะครับ
บันทึกการเข้า
ติบอ
นิลพัท
*******
ตอบ: 1906


Smile though your heart is aching.


ความคิดเห็นที่ 49  เมื่อ 12 มี.ค. 06, 17:28


สุกแล้วอาจจะแดงๆ
บันทึกการเข้า
ติบอ
นิลพัท
*******
ตอบ: 1906


Smile though your heart is aching.


ความคิดเห็นที่ 50  เมื่อ 12 มี.ค. 06, 17:29


หรือเป็นผลที่รวมกันแน่นจนเป็นลูกแบบน้อยหน่าก็ได้
บันทึกการเข้า
ติบอ
นิลพัท
*******
ตอบ: 1906


Smile though your heart is aching.


ความคิดเห็นที่ 51  เมื่อ 12 มี.ค. 06, 17:37


หรือผลแตก เมื่อสุกก็ได้เช่นกัน
บันทึกการเข้า
ติบอ
นิลพัท
*******
ตอบ: 1906


Smile though your heart is aching.


ความคิดเห็นที่ 52  เมื่อ 12 มี.ค. 06, 17:50

 นอกจากลักษณะของดอกแล้ว
พืชวงศ์นี้ยังมีลักษณะพิเศษอื่นๆอีก เช่น ใต้เปลือก(ไม่ใช่เนื้อไม้นะครับ) มีสีน้ำตาลเข้ม หรือดำ
บันทึกการเข้า
ติบอ
นิลพัท
*******
ตอบ: 1906


Smile though your heart is aching.


ความคิดเห็นที่ 53  เมื่อ 12 มี.ค. 06, 17:51


ยอดอ่อนของหลายชนิดมีขนปกคลุม ใบและเปลือกมีกลิ่นฉุน

เป็นต้นนะครับ
บันทึกการเข้า
Karine!!
ชมพูพาน
***
ตอบ: 130

กำลังค้นหาทางสว่างของชีวิต


เว็บไซต์
ความคิดเห็นที่ 54  เมื่อ 12 มี.ค. 06, 23:46

 .
บันทึกการเข้า

การศึกษาก้าวไกล ประเทศไทยรุ่งเรือง (แต่ตอนนี้ตูรุ่งริ่งชอบกล)
ศรีปิงเวียง
องคต
*****
ตอบ: 566

เรียนจบแล้ว


ความคิดเห็นที่ 55  เมื่อ 14 มี.ค. 06, 15:17

   หลังจากไม่ได้แวะมานาน เพราะอายที่โพสต์คำตอบผิด  
   ดูแล้วดอกกระดังงาเหลืองคล้ายสายหยุดครับ
ผมขอถามครับว่า ส่วนของต้นกระดังงาที่เอามาลนไฟนี้ คือส่วนไหนครับ
บันทึกการเข้า

ไม่เห็นใครแน่นอน
นิลกังขา
แขกเรือน
สุครีพ
******
ตอบ: 1012

ทำงานราชการ


ความคิดเห็นที่ 56  เมื่อ 14 มี.ค. 06, 17:05

มาอ่านเฉยๆ นานอยู่ เพราะผมไม่มีความรู้พอจะร่วมแจมได้ กะว่าจะแจมเรื่องวรรคสดับ รับ รอง ส่งก็ปรากฏว่ามีผู้ติงและแก้ไขกันไปแล้วนะครับ

มาตอบตรงที่ผมพอตอบได้ดีกว่า ตอบคุณศรีปิงเวียง เขาเอาดอกกระดังงามาลนไฟครับ ว่ากันว่าจะยิ่งหอมแรงจัดขึ้น

"กระดังงา" คำนี้ ผมเข้าใจว่าเป็นภาษาชวาหรือภาษาอินโดนีเซีย ไม่ใช่คำไทยแต่เดิม เพราะที่เมืองชวาเขาก็เรียกกระดังงาว่ากระดังงาเหมือนกัน และสำเนียงฟังแล้วออกไปทางนั้น
บันทึกการเข้า
นิลกังขา
แขกเรือน
สุครีพ
******
ตอบ: 1012

ทำงานราชการ


ความคิดเห็นที่ 57  เมื่อ 14 มี.ค. 06, 17:08

เทียบ นังงา - ขนุน (ไทยเรายังมีขนุนชนิดหนึ่งเรียกว่า "ขนุนหนัง")
จำปาด๊ะ - ตรงกันเลยกับ จำปาดะ ของไทย
บุงงา - ดอกไม้ ไทยเรียก บุหงา และเรายอมรับว่าเราได้ศัพท์นี้มาจากชวา
บันทึกการเข้า
ติบอ
นิลพัท
*******
ตอบ: 1906


Smile though your heart is aching.


ความคิดเห็นที่ 58  เมื่อ 14 มี.ค. 06, 22:32

 คุณศรีปิงเวียง อย่าอายเลยครับ
ผมสิน่าอายกว่าเยอะครับ ทั้งโพสต์ภาพผิด หรืออ้างอิงจนโดนตำหนิเอาด้วย ยังมาโพสต์ต่อเลยครับ แหะๆ

มาเล่าเรื่องดอกกระดังงาดีกว่ามะ (แต่วันนี้เวลาผมน้อยอ่ะ อาจจะขออนุญาตให้พี่สุดหล่อมาเล่าต่อนะครับ หิหิ)

ดอกกระดังงาก็แหงแหละ เป็นพรรณไม้ในวงศ์กระดังงาชัวร์ หน้าตาก็เหมือนในความเห็นที่พี่pharmaceutical scientist เอามาให้ชมกันนะครับ
แต่อาจจะเขียวกว่านั้นบ้าง เหลืองๆเหมือนในภาพบ้าง ขึ้นกับอายุของดอกไม้
อย่างในภาพที่ผมเอามาให้ชมจะมีทั้งดอกออ่นและแก่อยู่ด้วยกันนะครับ

จาก ctm.mayotte.free.fr/ flore/pages/ylangylang.htm ครับ
บันทึกการเข้า
ติบอ
นิลพัท
*******
ตอบ: 1906


Smile though your heart is aching.


ความคิดเห็นที่ 59  เมื่อ 14 มี.ค. 06, 22:42

 ภาษาอังกฤษเรียกชื่อสามัญดอกไม้ชนิดนี้ว่า Ylang-Ylang แต่เรียกต้นกระดังงาว่า cananga tree (เหมือนที่พี่นิลกังขาบอกไว้ครับ)
ส่วนชื่อวิทยาศาสตร์ที่แสนจำยากก็คือ Cananga  odorata Hook f. (จะเห็นว่าชือสกุลของพืชชนิดนี้ก็ยังเป็นคำทับศัพท์จากภาษาเดิมครับ)

แต่ของขวัญล้ำค่าจากดอกไม้ชนิดนี้คงหนีไม่พ้นน้ำมันหอมระเหยหยดเล็กๆ ที่ต้องเฝ้าบรรจงกลั่นออกมาจากดอกไม้นับพันๆดอก
นำมาบรรจุขายในขวดเล็กๆ สำหรับผู้ฝักใฝ่ในการรักษาแบบสุคนธบำบัดทั้งหลาย ที่ชื่นชอบกลิ่นแบบเอเชียจ๋า  
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 2 3 [4] 5
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2006, Simple Machines
Simple Audio Video Embedder

XHTML | CSS | Aero79 design by Bloc หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.079 วินาที กับ 19 คำสั่ง