vun
|
ความคิดเห็นที่ 30 เมื่อ 17 ก.ค. 05, 10:31
|
|
 มุมสุดขอบ |
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
vun
|
ความคิดเห็นที่ 31 เมื่อ 17 ก.ค. 05, 10:53
|
|
บริเวณที่ตั้งสำนักงานตรวจบัญชีกองทัพบก เดิมคือ บ้านพระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ (นพ ไกรฤกษ์) ผู้รับราชการสนองพระเดชพระคุณพระมหากษัตริย์ในราชวงศ์จักรี ถึง ๓ แผ่นดิน ท่านได้ถวายตัวเข้ารับราชการเป็นมหาดเล็ก ใน รัชกาลที่ ๕ ด้วยความอุตสาหะและจงรักภักดีจนได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยให้เป็นผู้ตามเสด็จอย่างใกล้ชิดโดยตลอด ท่านได้ทุ่มเทให้กับการรับราชการสนองพระเดชพระคุณ จนแทบไม่ได้กลับบ้าน ซึ่งอยู่ไกลออกไป พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระราชทานที่ดินบริเวณปลายถนนราชวิถีให้ท่านได้ปลูกสร้างบ้านพักอาศัย เพื่อสะดวกในการเดินทางไปรับราชการ และยังพระราชทานเงินถึง ๓๐๐ ชั่ง เพื่อใช้ในการปลูกสร้างบ้าน หลังใหญ่จึงได้สร้างขึ้นด้วยรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบตะวันตก โดยอาศัยช่างก่อสร้างชาวต่างประเทศ ชุดเดียวกับที่สร้างพระที่นั่งอนันตสมาคมใช้เวลาก่อสร้างประมาณ ๖ ปี โดยท่านเป็นผู้วางแบบแปลนเองทั้งหมดหลังคาทรงปั้นหยา อวดพื้นหลังคา ด้วยกระเบื้องว่าว เจาะตกแต่งช่องหน้าต่างเล็ก ๆ บนหลังคา วันประวัติศาสตร์ของบ้านหลังนี้คือวันที่ ๑๓ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๔๘ ด้วยเป็นวันทำบุญขึ้นบ้านใหม่ โดยเป็นวันที่ รัชกาลที่ ๕ และ รัชกาลที่ ๖ ซึ่งขณะนั้นทรงดำรงพระยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร ทรงเสด็จพระราชดำเนินเหยียบบ้านหลังนี้ทุกห้อง เพื่อเป็นสิริมงคล ทรงเสวยพระ กระยาหารโดยพระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ เป็นผู้ถวายพระกระยาหารด้วยตนเอง กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนเป็นโบราณสถานในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๕๒๑ นับตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๒๒ เป็นต้นมา สำนักงานตรวจบัญชีกองทัพบกคือผู้รับผิดชอบสถานที่แห่งนี้ได้พยายามอย่างยิ่งที่จะรักษาคุณค่าและความงดงามของสถานที่นี้ไว้ แต่ก็ยากเกินกว่าที่จะดำเนินการได้โดยลำพัง จากวันนั้นถึงปัจจุบันกว่า ๙๘ ปี อาคารที่โดดเด่นและสะดุดตาหลังใหญ่ยังคงตั้งตระหง่านอยู่อย่างสงบรอการบูรณะให้คงสภาพเดิม เพื่อเป็นทรัพย์ของแผ่นดินที่ทรงคุณค่าตลอดไป จนกระทั่งปีพุทธศักราช ๒๕๔๕ เป็นต้นมาได้มีการปรับปรุงซ่อมแซมอาคารอนุรักษ์มาโดยลำดับ เพื่อให้คงไว้ในสภาพสมบูรณ์ที่สุด
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
vun
|
ความคิดเห็นที่ 32 เมื่อ 17 ก.ค. 05, 10:58
|
|
อาคารอนุรักษ์ หรือ บ้านพระยาบุรุษรัตนราชพัลลพ หลังการบูรณะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
vun
|
ความคิดเห็นที่ 33 เมื่อ 17 ก.ค. 05, 12:24
|
|
 ในห้องโถง |
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
vun
|
ความคิดเห็นที่ 34 เมื่อ 17 ก.ค. 05, 12:27
|
|
 บันไดบนตึก |
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
vun
|
ความคิดเห็นที่ 35 เมื่อ 19 ก.ค. 05, 17:38
|
|
 ก่อนบูรณะมีสภาพที่ทรุดโทรม แล้วหลังคาก็ผุทุกวันจะมีนกมาทำรัง |
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
vun
|
ความคิดเห็นที่ 36 เมื่อ 19 ก.ค. 05, 17:50
|
|
 นี่คือรูปบ้านของพระยาประเสริฐศุภกิจ ตอนตกเป็นของดร.พิริยะ ไกรฤกษ์ ปัจจุบันเป็นสโมสรของดุสิต อเวนนิว |
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
vun
|
ความคิดเห็นที่ 37 เมื่อ 19 ก.ค. 05, 18:17
|
|
 อาคารนี้ถึงแม้จะมีส่วนประกอบ ซึ่ง นำแบบอย่างมาจากปราสาทNeuschwansteinที่เยอรมันก็จริง แต่หาได้ เป็นการลอกเลียนมาทั้งหมดไม่ แต่เป็นเพียง การนำส่วนประกอบนั้น ๆ เข้ามาประกอบกัน เป็นอาคารใหม่ มีประโยชน์ใช้สอยใหม่ได้อย่าง เหมาะเจาะคล้องจองเป็นอย่างดี |
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
vun
|
ความคิดเห็นที่ 38 เมื่อ 20 ก.ค. 05, 17:57
|
|
 บานประตูแกะสลัก ที่โถงทางเข้า เป็นบานประตูที่ในสมัยนั้นหาดูค่อนข้างยาก |
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
vun
|
ความคิดเห็นที่ 39 เมื่อ 20 ก.ค. 05, 17:59
|
|
 ภายในหอคอยโค้ง ในชั้นล่าง จะเห็นลายบนเพดานพร้อมโคมไฟ ซึ่งเป็นของเก่า |
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
vun
|
ความคิดเห็นที่ 40 เมื่อ 20 ก.ค. 05, 18:02
|
|
 ลายบัวเชิงผนังซึ่งทำออกมาห่างมากมีลักษณะที่งดงาม |
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
vun
|
ความคิดเห็นที่ 41 เมื่อ 20 ก.ค. 05, 18:10
|
|
 ภาพลายเขียนสีบนเพดาน ห้องทางทางออกไปเฉลียงกามเทพ |
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
vun
|
ความคิดเห็นที่ 42 เมื่อ 20 ก.ค. 05, 18:14
|
|
 พอขึ้นบันไดไปจะพบประตู2บานเข้าสู่ห้องพักผ่อน |
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
vun
|
ความคิดเห็นที่ 43 เมื่อ 21 ก.ค. 05, 13:03
|
|
 บนชั้น2 ที่ห้องพักผ่อน |
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
vun
|
ความคิดเห็นที่ 44 เมื่อ 21 ก.ค. 05, 13:05
|
|
 ภาพเขีนสับนพดาน มากด้วยลายละเอียด |
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|